Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury)
ความหมาย
การบาดเจ็บที่เกิดกับทารกระหว่างคลอดจากแรงที่กระทำกับทารกโดยตรง และไม่เกี่ยวกับโรคที่มารดาเป้นระหว่างการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงจากการคลอด
การคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดูดสุญญากาศ
การใช้แรงดึงมากเกินไป
ปัจจัยเสี่ยงผู้ทำคลอด
ขาดความชำนาญ
ขาดความเอาใจใส่อย่างเพียงพอ
ปัจจัยเสี่ยงจากทารก
อายุครรภ์ไม่ครบกำหนดหรือเกินกำหนด
การคลอดไหล่ยาก
ทารกมีขนาดตัวโตมาก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
ทารกมีส่วนนำผิดปกติ
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดา
ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
PIH
ระยะเวลาของการคลอด
การคลอดเฉียบพลัน
ความปิดปกติก่อนการตั้งครรภ์
มารดามีภาวะเบาหวาน
CPD
การบาดเจ็บที่ศีรษะทารก (Skull Injuries)
ภาวะก้อนบวมน้ำใต้หนังศีรษะ (Caput succedaneun)
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงศีรษะทารกระหว่างคลอด
การใช้เครื่องดูดสูุญญากาศช่วยคลอด
การวินิจฉัย
จากการคลำศีรษะทารก
พบก้อนบวมดน นุ่ม กดบุ๋ม
ขอบเขตไม่ชัดเจน ข้าม suture
ความหมาย
ก้อนบวมข้ามรอยต่อ (Suture)
มีขอบเขตไม่แน่นอน
เกิดจาการคั่งของของเหลวในระหว่างชั้นของหนังศีรษะกับชั้นเยื่อหุ้มกะโหลก
อาการและอาการแสดง
มีความกว้างและขนาดโตประมาณเท่าไข่ห่าน
ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
พบได้ด้านข้างของศีรษะ
แนวทางการรักษา
หายไปได้เอง ประมาณ 2-3 วันหลังคลอด
ถ้าเกิดจาก V/E จะหายได้ช้ากว่า
บทบาทพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการ
สังเกตลักษณะขนาด การเปลี่ยนแปลงของก้อนบวมโน
บันทึกอาการและการพยาบาล
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ (Cephalhematoma)
ความหมาย
มีขอบเขตชัดเจน ไม่ข้ามรอยต่อ
พบมากที่กระดูก Parietal
เป้นการคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ศีษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอด
การใช้ V/E
ระยะเวลาการคลอดยาวนาน
ภาวะแทรกซ้อน
hyperbilirubinemia
ติดเชื้อจาการดูดเลือดออก
การวินิจฉัย
ประวัติเบ่งคลอดนาน ช่วยคลอดโดย V/E
ตรวจพบศีรษะมีก้อนบวมโน คลำขอบเขตได้ชัดเจน กดไม่บุ๋ม
อาการและอาการแสดง
อาการจะชัดเจนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว
ในรายที่รุนแรงพบทันทีหลังเกิด
ก้อนโนมีเลือดสีผิดปกติ
มีภาวะซีด
แนวทางการรักษา
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองจำเป็นต้องได้รับการส่องไฟ
ในรายที่ก้อนเลือดขนาดใหญ่รักษาโดยการดูดเลือดออก
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนจะค่อยๆหายภายใน 2 เดือน
บทบาทพยาบาล
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโนเลือด
สังเกตอาการซีดเจาะ Hct. และให้เลือดตามแผนการรักษา
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาวะเลือดออกในสมอง
ตรวจ MB ถ้าตัวเหลืองรายงานแพทย์พิจารณาส่องไฟ
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการของทารก
แนะนำไม่ให้ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออกเอง
Subgaleal hematoma
ความหมาย
ภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกกับเยื่อหุ้มกะโหลก
สาเหตุ
มักพบในการคลอดโดยใช้ V/E
อาการและอาการแสดง
ก้อนมีลักษณะน่วมและข้ามแนวประสานกระดูก ก้อนมีขนาดเพิ่มขึ้นช้าๆ หรือเพิ่มอย่างรวดเร็ว อาจทำให้ทารกช็อกจากการเสียเลือดได้
Subgaleal hematoma อันตรายมากกว่า Cephalhematoma
มีขอบเขตจากหน้าไปหลัง
Intracranial hematoma
ความหมาย
เป็นภาวะที่เลือดออกภายในกะโหลกสีรษะ
ตำแหน่งการเกิด
ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นอแรดนอยด์
ภายในเนื้อสมอง (intracerebral)
ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา (subdural)
ภายในห้องสมอง (intraventricular)
เหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา (epidural)
สาเหตุ
ภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน
การได้รับอันตรายรุนแรงจากการคลอด
ภาวะ CPD
การคลอดยาก
การคลอดท่าก้น
การให้ยาช่วยเร่คลอดไม่เหมาะสม
การใช้เครื่องมือช่วยคลอด
การคลอดเฉียบพลัน
Preterm
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกกดศูนย์การหายใจทำให้ทารกหายใจลำบาก
ทารกเกิดปัญญาอ่อน
การวินิจฉัย
จากประวัติการคลอดเพื่อค้นหาสาเหตุ
อาการและอาการแสดง
มีภาวะซีด หรือมีอาการเขียว
ซึม ดูดนมไม่ดี หรือไม่ยอมดูดนม
กำลังกล้ามเนื้อไม่ดี มีอาการอ่อนแรง
ร้องเสียงแหลม
Reflex ลดน้อยลง โดยเแพาะ moro reflex
การหายใจผิดปกติ
กะหม่อมโป่งตึง
ชัก (Convulsion)
แนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชักและให้วิตามินเค
ดูแลให้ออกซิเจน
ให้ความอบอุนแก่ร่างกายทารกถ้าตัวเย็น
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ
ถ้าความดันในกะโหลกศีษะสูงอาจได้รับการรักษาโดยเจาะน้ำไขสันหลัง
บทบาทการพยาบาล
กรณีให้ออกซิเจน ควรสำรวจปริมาณออกซิเจนที่ทารกได้รับ
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ
ดูดสิ่งคัดหลั่งออกจากปากและจมูกให้หมด
ให้ทารกอยู่ในตู้อบที่ควบคุมอุณหภูมิ
จัดให้นอนราบศีรษะตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
เตรียมเครื่องมือในการให้ความช่วยเหลือทารกให้พร้อม
ดูแลให้ทารกหายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ตรวจสอบสัญญาณชีพและบันทึกทุก 2-4 ชั่วโมง
ป้องกันและไม่ให้ทารกได้รับอันตรายจากการชัก
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน
ดูแลฉีดวิตามินเค 1 มิลลิกรัมเข้ากล้ามเนื้อ
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดา
ให้การดูแลอย่างต่อเนื่องโดยการให้ความรู้แก่มารดา
การบาดเจ็บของกระดูก (Bone injuries)
Fracture humurus
การตรวจร่างกาย
ทดสอบ moro reflex พบว่าทารกจะไม่งอแขน
เมื่อจับแขนขยับทารกจะร้องไห้เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
อาการและอาการแสดง
ในรายกระดูกหักสมบูรณ์ อาจได้ยินเสียงกระดูกหักหลังคลอด
แขนข้างที่หักจะบวมและทารกไม่เคลื่อนไหว
แนวทางการรักษา
กระดูกแขนเดาะ ตรึงแขนแนบลำตัวไม่ให้เคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
กระดูกหักสมบูรณ์ จับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา แขนส่วนล่างและมือทาบขวางลำตัวใช้ผ้าพันรอบแขนและลำตัว
ใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
Fracture femur
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น
ผู้ทำคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางเข้าเชิงกราน (pelvicinlet)
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ ทารกไม่ยกขาข้างที่กระดูกหัก
สังเกตว่าทารกจะไม่เคลื่อนไหวขาข้างที่หัก
อาการและอาการแสดง
ขาทารกมีอาการบวม
เมื่อจับทารกเคลื่อนไหวหรือถูกบริเวณที่กระดูกต้นขาหักทารกจะร้องไห้
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
แนวทางการรักษา
complete รักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรง ให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ตึงขาไว้นาน 2-3 สัปดาห์
incomplete รักษาโดยการใส่เฝือกขายาว 3-4 สัปดาห์
Fracture clavicle
สาเหตุ
การคลอดทารกท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
ทารกตัวโตหรือคลอดท่าก้น
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ แขนทั้งสองข้างเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
กรณีกระดูกเดาะอาจยกแขนได้ คลำบริเวณที่หักได้ยินเสียงกรอบแกรบ
อาการและอาการแสดง
ทารกมีอาการหงุดหงิดหรือร้องไห้เมื่อสัมผัสบริเวณที่หัก
อาจพบว่ามีอาการบวมห้อเลือด (ecchymosis)
ทารกเคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหักน้อยหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
อาจพบปมประสาทใต้ไหปลาร้า (brachial plexus)
แนวทางการรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เองค่อยข้างเร็ว กระดูกงอกใหม่ภายใน 1 สัปดาห์
รักษาโดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหปลาร้าหักอยู่นิ่งๆ โดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10-14 วัน
บทบาทการพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลการขับถ่าย ป้องกันการระคายเคืองจากอุจจาระและปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับความสุขสบายและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเพิ่ม
ดูแลให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจแก่ทารก
จัดกิจกรรมการพยาบาลไม่ให้เคลื่อนไหวร่างกายทารกบ่อยๆ
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
ดูแลไม่ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหวและจัดให้บริเวณที่หักอยู่ในท่าที่ถูกต้อง
การบาดเจ็บของเส้นประสาท (Nerve injury)
Facial nerve injury
สาเหตุ
การคลอดยาก
การใช้คีมช่วยคลอดทำให้กดเยื่อประสาทสมองคู่ 7
การตรวจร่างกาย
จากสังเกตสีหน้าของทารกเวลานอน เวลาร้องไห้ หรือแสดงสีหน้าท่าทาง
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อด้านที่เป็นอัมพาตจะไม่เคลื่อนไหว ทำให้หน้าเบี้ยวไปข้างที่ดี
รูปหน้าทั้งสองด้านจะไม่เท่ากัน
มีอาการอัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อใบหน้า มักเป็นด้านเดียว
ทารกจะลืมตาได้เพียงข้างเดียว ตาปิดไม่สนิท
ปากข้างที่เป็นจะถูกดึงลงมาทำให้มุมริมฝีปากล่างตก
ไม่มีรอยย่นที่หน้าผาก
แนวทางการรักษา
ปกติถ้าประสาทที่เลี้ยงใบหน้าเพียงถูกกดอาจหายไปได้เองภายใน 2-3 วัน ถึงสัปดาห์
ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
บทบาทการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับนมให้เพียงพอกับความต้องการและเฝ้าระวังการสำลัก
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ล้างตา หยอดตาตามแผนการรักษา
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมาดาและบิดา
การให้นมทารก: กรณีให้นมมารดา
สอนวิธีให้มารดาบีบบริเวณลานหัวนม
เมื่อทารกสำลักให้รีบจับทารกตะแคงหน้าทันทีและรีบทำทางเดินหายใจให้โล่ง ดดยใช้ลูกสูบยางแดงดูดออก
มารดาควรอุ้มทารกให้ศีรษะสูงตลอดเวลา
ถ้าทารกไม่สามารถดูดนมได้โดยตรงมวรดาควรบีบนมใส่ขวดให้ทารก
การให้นมทารก:กรณีให้นมผสม
เตรียมอุปกรณ์ช่วยดูดเสมหะให้พร้อมใช้เสมอ
ถ้าทารกไม่สามารถดูดนมจากขวดได้เอง อาจใช้วิธีหยอดนมโดยใช้ syringe
อุ้มทารกให้นมท่าศีรษะสูง หากสำลักจับตะแคงหน้าทันทีและทำทางเดินหายใจให้โล่ง
สอนวิธีการให้นมทารกกับมารดาหรือผู้เลี้ยงดู
แนะนำให้ใช้หัวนมยางนุ่มขนาดพอเหมาะ
ฺการบาดเจ็บของเส้นประสาท Brachial
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาท Brachial ถูกดึงหรือถูกกด
ส่วนนำเป็นก้นหรือคลอดยาก
Erb-Duchenne paralysis
แขนข้างนั้นส่วนบนไม่ขยับ
แขนจะอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าข้างใน
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาท C5-C6
บริเวณข้อมมือยังขยับ
กำมือได้ตามปกติ
Klumpke's paralysis
แขนข้างนั้นส่วนล่างไม่ขยับ
แขนอยู่ในท่าชิดลำตัวและหมุนเข้าข้างใน
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาท C7-C8 และ T1
บริเวณข้อมือไม่ขยับ
กำมือไม่ได้
การตรวจร่างกาย
Erb-Duchenne paralysis
การเคลื่อนไหวและการงอของแขนลดลง
การตอบสนองต่อการกำมือ (grasp reflex) ปกติ
ทดสอบ moro reflex แขนข้างที่เป็นยกขึ้นไม่ได้หรือยกได้น้อย
Klumpke's paralysis
ทดสอบ moro reflex ไหล่และแขนส่วนบนเหยียดกางออกเป็นปกติ แต่ข้อมือ นิ้วมือตกไม่มีแรง
การตอบสนองต่อการกำมือ (grasp reflex) ผิดปกติ
แนวทางการรักษา
ทำกายภาพบำบัด
ถ้าไม่หายอาจต้องทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
ให้แขนไม่เคลื่อนไหว ในท่ากางหมุนแขนออกตั้งฉากกับลำตัว
การพยาบาล
ดูแลความสุขสบายและการผ่อนคลายให้ทารกที่ต้องตรึงแขน สำรวจข้อมือ ปลายนิ้วเพื่อดูว่าเย็นชีดหรือไม่
ทำความสะอาดร่างกายด้วยความนุ่มนวล ถอดเสื้อจากแขนด้านดีก่อนและสวนเสื้อด้านที่เจ็บก่อน
ดูแลให้แขนที่ได้รับอันตรายได้ออกกำลังหลังจากการรักษาพยาบาลในช่วงแรกดีขึ้นและส่งกายภาพบำบัดโดยพยาบาลมีส่วนร่วม
ตอบสนองความต้องการทั้งด้านร่างกายและจิตใจควรเพิ่มความรักและต้องสัมผัสมากกว่าทารกปกติ
ดูแลให้ส่วนที่ได้รับอันตรายไม่เคลื่อนไหวโดยจัดแขนให้อยู่ในท่าตามแผนการรักษา ให้มืออยู่ในท่าหงายไม่อุ้มทารกลงจากเตียงบ่อย ๆ
ช่วยให้มารดาและบิดามั่นใจในการดูแลทารก