Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:บทที่ 9 Birth Injury :star: - Coggle Diagram
:star:บทที่ 9 Birth Injury :star:
ความหมาย
การบาดเจ็บที่เกิดกับทารกระหว่างคลอดจากแรงที่
กระทำกับทารกโดยตรง
ไม่เกี่ยวกับโรคที่มารดาเป็นระหว่างการตั้งครรภ์
สาเหต
ปัจจัยเสี่ยงจากทารก
ทารกมีส่วนนำผิดปกติ เช่น หน้า ไหล่ ก้น
ทารกมีขนาดตัวโตมากทำให้เกิดการคลอดยาก
อายุครรภ์ของทารกไม่ครบกำหนด หรือเกินกำหนด
การคลอดไหล่ยาก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
ปัจจัยเสี่ยงจากการคลอด
การคลอดด้วยคีม หรือเครื่องดูดสุญญากาศ
การใช้แรงดึงมากเกินไปในการช่วยคลอดทารก
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดา
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการตั้งครรภ์
ระยะเวลาของการคลอด
ค.ผิดปกติที่มีมาก่อนการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยงจากผู้ทำคลอด
ขาดความชำนาญหรือขาดการเอาใจใส่อย่างเพียงพอ
Skull injuries
cephalhematoma
ความหมาย
เป็นการคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ มีขอบเขตชัดเจน และไม่ข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบมากที่กระดูก parietal
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ระยะเวลาการคลอดยาวนาน
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอด
การใช้ V/E
ภาวะแทรกซ้อน
ในรายที่มีอาการรุนแรง ก้อนโนเลือดมีขนาดใหญ่ hyperbilirubinemia ได้
อาจเกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโนเลือดในกรณีมีแผนการรักษา
การวินิจฉัย
ประวัติการเบ่งคลอดนาน ช่วยคลอดโดยใช้ V/E
พบบริเวณศีรษะมีก้อนบวมโนบนกระดูกกะโหลกศีรษะชิ้นใดชิ้นหนึ่ง มีลักษณะแข็งหรือค่อนข้างตึง คลำขอบเขตได้ชัดเจน เมื่อใช้นิ้วกดจะไม่เป็นรอยบุ๋ม
S & S
อาการจะชัดเจนหลัง 24 ชม. เนื่องจากเลือดจะค่อยๆ ซึมออกมานอกหลอดเลือด
ในรายที่รุนแรงอาจพบทันทีหลังเกิด และพบว่าก้อนโนเลือดมีสีผิดปกติ คือ เป็นสีดำหรือน้ำเงินคล้ำ เนื่องจากการแข็งตัวของเลือดและอาจพบว่าทารกมีภาวะซีดได้จากการสูญเสียเลือดมาก
แนวทางการรักษา
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองร่วมด้วยและมีระดับบิลลิรูบินในเลือดสูงจำเป็นต้องได้รับการส่องไฟ
ในรายที่ก้อนเลือดขนาดใหญ่อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน จะค่อยๆหายเองภายใน 2 เดือน
บทบาทพยาบาล
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโนเลือด
สังเกตอาการซีด การเจาะหาค่า Hct และดูแลให้เลือดตามแผนการรักษา
สังเกต ลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ เกี่ยวกับภาวะเลือดออกในสมอง
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการที่เกิดขึ้นของทารก
แนะนำไม่ใช้ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออกเอง
subependymal hemorrhage
สาเหตุ
มักพบในการคลอดโดยใช้ V/E
caput succedaneum
ก้อนบวมโนนี้จะข้ามรอยต่อ (Suture) ของกระดูกกะโหลกศีรษะ
มีขอบเขตไม่แน่นอน
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะ ทำให้มีของเหลวไหลซึม
ออกมานอกหลอดเลือดในชั้นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
การใช้เครื่องดูดสุญญากาศ V/E
S & S
พบได้ด้านข้างของศีรษะ
การบวมของก้อนโนนี้จะมีความกว้างและมีขนาดโตประมาณไข่ห่าน
ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
หายไปได้เอง ประมาณ 2 -3 วันหลังคลอด
ถ้าเกิดจาก V/E จะหายได้ช้ากว่า
บทบาทการพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการ
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ของก้อนบวมโนที่ศีรษะ
บันทึกอาการและการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดาและบิดาวิตกกังวลเกี่ยวกับก้อนบวมน้ำที่ใต้ศีรษะทารก
intracranial hemorrhage
สาเหตุ
ภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานานในขระคลอดหรือเกิดภายหลังคลอด
การได้รับอันตรายจากการคลอด เป็นสาเหตุสำคัญที่สุด
Preterm
S & S
ดูดนมไม่ดี หรือไม่ยอมดูดนม
ร้องเสียงแหลม
ซึม ไม่ร้อง
การหายใจผิดปกติ มีหายใจเร็ว ตื้น ช้า ไม่สม่ำเสมอ หรือหยุดหายใจ
มีภาวะซีด หรือมีอาการเขียว (cyanosis)
กระหม่อมโป่งตึง
กำลังกล้ามเนื้อไม่ดี มีอาการอ่อนแรง
ชัก
Reflex ลดน้อยลงหรือไม่มี โดยเฉพาะ moro reflex จะเสียไป
บทบาทการพยาบาล
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และบันทึกไว้ทุก 2- 4 ชั่วโมง ตามระดับความรุนแรงของอาการ
ป้องกันและไม่ให้ทารกได้รับอันตรายจากการชัก
เตรียมเครื่องมือในการให้ความช่วยเหลือทารกไว้ให้พร้อม
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
ให้ทารกอยู่ในตู้อบ (incubator)
ดูแลฉีดวิตามินเค จำนวน 1 มิลลิกรัม
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำที่เพียงพอ
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดา
ดูแลให้ทารกหายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การให้ความรู้แก่มารดาในการดูแลทารกให้เหมาะสม
Bone injuries
กระดูกต้นขาหัก
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น
ผู้ทำคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางเข้าเชิงกราน
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ ทารกจะไม่ยกขาข้างที่หัก
สังเกตว่าทารกจะไม่เคลื่อนไหวขาข้างที่หัก
S & S
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
อาจไม่ทราบว่ากระดูกหักจนเวลาผ่านไปหลายวัน
เมื่อจับทารกเคลื่อนไหวหรือถูกบริเวณที่กระดูกต้นขาหักทารกจะร้องไห้
การรักษา
ถ้ากระดูกไม่หักแยกจากกัน
รักษาโดยการใส่เฝือกขายาว ประมาณ 3 -4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกหักแยกจากกัน
รักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรง
ให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ดึงขาไว้นาน 2-3 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ แขนทั้งสองข้างของทารกเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
กรณีที่กระดูกเดาะทารกอาจยกแขนได้ก็ได้แต่ถ้าคลำตรงบริเวณที่หักอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ
S & S
ทารกจะมีอาการหงุดหงิดหรือร้องไห้เมื่อสัมผัสบริเวณที่กระดูกหัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจับใต้แขนยกตัวทารกขึ้น
อาจพบว่ามีอาการบวมห้อเลือด (ecchymosis) ตรงบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
ทารกเคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหักน้อยหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
ปมประสาทใต้ไหปลาร้า (brachial plexus) ของทารกอาจได้รับอันตรายร่วมด้วย
การรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เองค่อนข้างเร็ว
มักเกิดกระดูกงอกใหม่ภายใน 1 สัปดาห์
รักษาโดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหลปลาร้าหักอยู่นิ่ง ๆ
โดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10 – 14 วัน
สาเหตุ
การคลอดทารกท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
ทารกตัวโตหรือคลอดท่าก้นที่แขนเหยียดซึ่งผู้ทำคลอดดึงแขนออกมา
กระดูกต้นแขนหัก
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทำคลอดดึงทารกออกมา แขนเหยียด
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ (moro reflex) พบว่าทารกจะไม่งอแขน
เมื่อจับแขนขยับทารกจะร้องไห้เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
S & S
ในรายที่มีกระดูกหักสมบูรณ์ (complete) อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะคลอด
แขนข้างที่หักจะมีอาการบวมและทารกไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่หักเนื่องจากรู้สึกเจ็บ
การรักษา
ถ้าอาการไม่รุนแรงเป็นเพียงกระดูกแขนเดาะ
จะรักษาโดยการตรึงแขนให้
แนบกับลำตัวเพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
ถ้าหากกระดูกแขนหักสมบูรณ์
รักษาโดยการจับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา
แขนส่วนล่างและมือทาบขวางลำตัวใช้ผ้าพันรอบแขนและลำตัว
หรือใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
facial nerve injury
สาเหตุ
การคลอดยาก
การใช้คีมช่วยคลอดทำให้กดเยื่อประสาทสมองคู่ที่ 7
การตรวจร่างกาย
จากการสังเกตสีหน้าของทารกเวลานอน
เวลาร้องไห้หรือแสดงสีหน้าท่าทาง
S & S
รูปหน้าทั้ง 2 ด้านจะไม่เท่ากัน เห็นได้ชัดเจนที่สุดเมื่อทารกร้องไห้
กล้ามเนื้อด้านที่เป็นอัมพาตจะไม่เคลื่อนไหว ทำให้หน้าเบี่ยวไปข้างที่ดี
มีอาการอัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อใบหน้า มักเป็นด้านเดียว
ปากข้างที่เป็นจะถูกดึงลงมาทำให้มุมริมฝีปากล่างตก
ไม่มีรอยย่นที่หน้าฝาก
การรักษา
ถ้าประสาทที่เลี้ยงใบหน้าเพียงถูกกดอาจหายไปได้เองภายใน 2-3 วัน ถึงสัปดาห์
่ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
บทบาทพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารเหมาะสมตามความต้องการของทารก
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ล้างตาทารกให้สะอาดเนื่องจากเปลือกตาปิดไม่สนิท
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
การบาดเจ็บของเส้นประสาท Brachial
Klumpke’ s paralysis
แขนอยู่ในท่าชิด และหมุนเข้าข้างใน
บริเวณข้อมือไม่ขยับ
แขนข้างนั้นส่วนล่างไม่ขยับ
กำมือไม่ได้
เส้นประสาทจากกระดูกสันหลังตอนคอท่อนที่ 7-8และเส้นประสาทที่มาเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1
Erb Duchenne Paralysis
เส้นประสาทจากกระดูกสันหลังตอนคอท่อนที่ 5 และ 6
แขนข้างนั้นส่วนบนไม่ขยับ
แขนจะอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าข้างใน
บริเวณข้อมือยังขยับ
กำมือได้ตามปกติ
การตรวจร่างกาย
Erb Duchen Paralysis
การตอบสนองต่อการกำมือ (grasp reflex) ปกติ
Klumpke’ s paralysis
การตอบสนองต่อการกำมือจะไม่ตอบสนองต่อการกำมือ
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาท Brachial ถูกดึงหรือกด
พบในทารกที่คลอดโดยมีส่วนนำเป็นก้น
การรักษา
ทำกายภาพบำบัด
ถ้าไม่หายอาจต้องทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
ให้แขนไม่เคลื่อนไหว ในท่ากางหมุนแขนออก ข้อศอกตั้งฉากกับลำตัว