Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind, https://library2.parliament.go.th/giventake/content…
A Beautiful Mind
โรคที่สนใจ
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
ลักษณะอาการทางคลินิก
กลุ่มอาการด้านบวก (Positive Symptoms)
Psychotic dimension
อาการหลงผิด (Delusion)
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
Disorganization dimension
Disorganized speech
Disorganized behavior
กลุ่มอาการด้านลบ (Negative Symptoms)
Alogia
Affective flattening
Avolition
Asociality
อาการด้านการรู้คิด (cognitive symptoms)
executive function
attention)
working memory
ผู้ที่มีโอกาสเป็นโรคจิตเภทมีใครบ้าง?
ผู้ที่ใช้ยาผิดประเภท
ผู้ที่เสี่ยงติดเชื้อไวรัสต่างๆ ขณะอยู่ในครรภ์
ผู้ที่มีประวัติสมาชิกในครอบครัวเคยป่วยด้วยโรคจิตเภท
สาเหตุ
การบาดเจ็บทางสมอง
พันธุกรรมและจิตวิทยา
โครงสร้างของสมองและระบบประสาทส่วนกลางแตกต่างจากคนปกติ
สารคัดหลั่งโดปามีนมีปริมาณสูง
การวินิจฉัยโรคจิตเภท
เกณฑ์วินิจฉัย DSM-5
ตามเกณฑ์วินิจฉัย ICD-10
แนวทางการรักษา
การบำบัดทางจิตสังคม
การให้สุขภาพจิตศึกษา
ประเมินความพิการ
การเยี่ยมบ้าน
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
การรักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยาฉีด
ยาอื่นๆที่ให้ร่วม
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
สาเหตุ
พัธุกรรม
สถานการณ์ฝังใจ
สารสื่อประสาทในสมอง
ปฏิกิริยาต่อความกลัวที่รุนแรงเกินไป
ผลกระทบ
หน้าที่การงาน
การเข้าร่วมสังคม
อาการและอาการแสดง
หลีกเลี่ยงการไปในที่ที่มีคนมากๆ
ไม่สบตากับใครในขณะที่พูดคุยกัน มักจะหลบดา
เหงื่อออก หน้าแดง กระวนกระวาย
หอบหายใจถี่ พูดตะกุกตะกัก ใจเต้นแรงจนอยู่นิ่งไม่ได้
ไม่ทำตัวโดดเด่นชอบที่อยู่คนเดียวเงียบๆ
มีมนุษย์สัมพันธ์ต่ำ
การรักษา
การบำบัดทางจิต
รักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยา SNRI
ยา SSRI
ยา Benzodiazepines
ยา Beta bloker
การดูแล
ดื่มเครื่องดื่มคาเฟอีนให้น้อยลง
ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
ท ากิจกรรมผ่อนคลายมากขึ้น
รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพในปริมาณที่สมดุล
ให้คำปรึกษา หรือเปิดโอกาสให้ระบาย
นอนหลับให้เพียงพอ
หยุดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และหยุดเสพยาเสพติด
ประเด็นที่สงสัย
การเลี้ยงดูของครอบครัวเป็นอย่างไร
ครอบครัวจะมีส่วนช่วยในการรักษาผู้ป่วยอย่างไรบ้าง
ผลกระทบอะไรบ้างที่เกิดกับผู้ป่วยรายนี้
ทําไมถึงคิดว่าตนเองทํางานให้ก้บกระทรวงหน่วยงานราชการลับ
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
กฎหมาย พรบ.ที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551
หมวด 3 การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ 1 ผู้ป่วย
มาตรา 21-34
ส่วนที่ 2 ผู้ป่วยคดี
มาตรา 35-37
ส่วนที่ 3 การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา 40-41
หมวด 2 สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 15-20
หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
มาตรา 50-53
การเชื่องโยงกับเคส
การวินิจฉัย
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
อาการและอาการแสดง
คิดว่ามีคนจะมาทำร้ายและมีคนสะกดรอยตาม
ทำร้ายตนเองและครอบครัว
ชอบอยู่คนเดียว ไม่เข้าสังคม
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนคอยสั่งการ
กระสับกระส่าย กระวนกระวาย
การรักษา
ยารับประทาน
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การพยาบาล
ดูแลให้พักผ่อนให้เพียงพอ
ระมัดระวังเรื่องการทำร้ายตัวเองและคนในครอบครัว
จัดสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวให้ผ่อนคลาย เป็นส่วนตัว
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย คอยให้คำปรึกษา
บอกถึงข้อดี ข้อเสีย ของการรับประทานยาตามแผนการรักษา
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายให้กับคนที่ไว้ใจ
ให้กำลังใจผู้ป่วยและญาติ
ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
https://library2.parliament.go.th/giventake/content_law/law200251-37.pdf
นางสาวชนิสรา วอพะพอ เลขที่ 17
ห้อง2B รหัสนักศึกษา 613601125