Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A beauiful mind - Coggle Diagram
A beauiful mind
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลในครอบครัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย-ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระสาย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใตรบางคน
เฉยเมยไร้ความรู้สึก
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
Dopamine
Neropinephine
Serotonin
ด้านครอบครัว
ตรอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งในจิตใจ
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคกลัวสังคม(Social aniety disorder)
ลักษณะ
มีอาการกลัวสังคมต่อเนื่องกันนานเกิน 6 เดือน (โดยเฉพาะวัยเด็กไปจนถึงวัยรุ่น) โดยจะมีแบบทดสอบให้ทำ และจับสังเกตอาการระหว่างที่พูดคุย รับประทานอาหาร ดื่มน้ำ หรือแม้แต่เข้าห้องน้ำสาธารณะต่อหน้าบุคคลอื่น (คนนอกครอบครัว หรือคนแปลกหน้า) จะมีการทำตัวลำบาก
สาเหตุ
มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูของครอบครัว แต่ก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดถึงสาเหตุที่แท้จริง เพราะบางกรณีโรคนี้ก็เกิดกับคนในครอบครัวเพียงแค่คนเดียว คนอื่น ๆ ไม่มีอาการของโรคเลย
การรักษา
การรักษาด้วยวิธีจิตวิทยา
CBT (Cognitive behavior therapy) หรือการบำบัดด้วยการรับรู้และพฤติกรรม
วยา เช่นกัน โดยส่วนมากจิตแพทย์จะสั่งยาลดอาการซึมเศร้า (Antidepressants) และยาระงับความวิตกกังวล (Anti-Anxiety)
โรคจิตเภท (Schyzophzophernia)
การรักษา
ยา
รักษาด้วยไฟฟ้า
การดูแลรักษาด้านจิตและสังคม
ลักษณะ
ทำให้ผู้ป่วยมีอาการต่าง ๆ อย่างประสาทหลอน หลงผิด ปลีกตัวจากสังคม หรือไม่สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ
ส่งผลต่อการพูด การคิด การรับรู้ ความรู้สึก และการแสดงออกของผู้ป่วย
เป็นโรคความผิดปกติทางจิตที่รุนแรงและเรื้อรัง
สาเหตุ
กรรมพันธ์ุ
ระบบสารเคมีในสมอง
ความผิดปกติอื่นๆในสมอง
โรคหวาดระแวง(Schyzophenia paranoid)
สาเหตุ
ไม่พบว่าโรคนี้เกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์ หรือมีความสัมพันธ์กับพยาธิสภาพของสมอง สาเหตุที่สำคัญเชื่อว่าเกิดจากปัจจัยทางจิตวิทยา
เด็กพวกนี้มักขาดความอบอุ่น ความไว้วางใจ และความรักถูกทำโทษอย่างขาดเหตุผล และไม่ใคร่ได้รับความรักความสนใจจากบิดามารดา
ปัจจัยบางอย่างอาจกระตุ้นให้เกิดอาการของโรค ได้แก่ การย้ายที่อยู่ โดยเฉพาะการย้ายไปอยู่ต่างประเทศ
ลักษณะ
ผู้ป่วยมักจะมีประวัติการขาดความไว้วางใจสิ่งแวดล้อม และขาดความมั่นใจในตนเอง และระมัดระวังจนเกินไป มักจะโต้แย้งกับผู้อื่นแรงๆ และขาดเหตุผล
การตรวจสภาพจิตจะพบว่า ผู้ป่วยค่อนข้างฉลาดกว่าคนทั่วไป และสามารถพูดได้ดี เหตุผลและความเชื่อก็ดูถูกต้องและเป็นไปได้ การแสดงออกทางสีหน้าก็ดูซื่อและน่าเชื่อถือ ในการสัมภาษณ์ระยะแรกๆ ผู้ป่วยอาจจะช่างพูดและพูดเร็ว แต่ต่อมาจะเริ่มปิดบัง และแสดงความหลงผิดออกมา
การรักษา
ยา จุดประสงค์ของการใช้ยาก็เพื่อแก้ไขความหลงผิด ความวิตกกงวล และอารมณ์เศร้าที่อาจเกิดขึ้นในบางราย เพราะฉะนั้นยาที่ใช้จึงควรเป็นยารักษาโรคจิต และยาแก้อารมณ์เศร้า ตามความจำเป็น
จิตบำบัด ควรจะทำตั้งแต่ระยะแรกๆ ที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ โดยแพทย์จะต้องวางตัวเป็นกลาง หนักแน่น เสมอต้นเสมอปลาย และไม่ผลักไสผู้ป่วย
โรคจิตหลงผิด(Delusional disorder)
ลักษณะ
เป็นความผิดปกติทางความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและความคิดในเรื่องต่างๆ ที่ไม่เป็นไปตามหลักความจริง และไม่สามารถลบความเชื่อนั้นออกไปจากความทรงจำได้
สาเหตุ
พันธุกรรม
ความเชื่อฝังใจ
ความผิดปกติของสมอง
ความเครียดสะสม
การรักษา
ยา
จิตบำบัด
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ นายจอห์น ฟอบส์ จูเนียร์ (Mr.Johu Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมรกา สัญชาติอเมริกา
ประวัติครอบตรัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกสาวด้วยกัน 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
ความสัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยที่ความคิดที่หมกหมุ่นเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป้วยมีความรู้สึกไม่อยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ผู้ป่วยคิเหมกหมุ่นและพฤติกรรมแปลก
พัฒนาการตามวัย
วัยเด็ก
ชอบเก็กตัว
ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหา ในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ผู้ป่วยเรียนเก่ง
วัยรุ่น
ผุู้ป่วยหันมาสนใจด้านคณิตศาสตร์และมุ่งมั่นในการเรียน
ผู้ป่วยเริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
ชาร์ลส์อยู่กับเขาตลอดและเป็นเพื่อนคนเดียวที่สามารถพูดคุยด้วยได้
วัยผู้ใหญ่
มีควมโดดเด่นด้านดารเรียนในระดับอัจฉริยะ
เริ่มมีความคิดหมกหมุ่นและพฤติกรรมแปลกๆเพิ่มมากขึ้น
พบว่าชาร์ลส์เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตเขา
ให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อนเค้าเสมอ
กฎหมาย พรบ. สุขภาพจิต คุ้มครองสิทธิของผู้ป่วย
อาการทางจิตของผู้ป่วยที่ควรได้รับการรักษาทันที คือ หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวง พูดจาเพ้อเจ้อ คิดว่าตนเองพิเศษกว่าผู้อื่น แต่งกายแปลกกว่าคนปกติ ร่วมกับมีแนวโน้มในการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
หากพบเห็นผู้ป่วย ให้ดำเนินการ ดังนี้
กรณีไม่เร่งด่วน
ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่สาธารณะสุข หากพิจารณายังมีความเสี่ยงไม่ทุเลาลง ให้ส่งต่อโรงพยาบาลใกล้บ้าน
กรณีเร่งด่วน
มีภาวะอันตรายทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น ซึ่งมีความจำเป็นที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้รีบโทรแจ้งสายด่วน 1669 หรือสามารถแจ้งบุคลากรหน่อยงานอื่นได้ เพื่อให้เจ้าหน้าที่นำตัวเข้ารับบำบัดตามกฎหมาย
สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 15
ไดรับการบำบัด รักษาตามมาตราฐานทางการแพทย์โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับ เว้นแต่มีกฎหมายบัญญัติให้เปิดเผยได้
ได้รับการคุ้มครองจากวิจัย ตามมาตรา 20
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม และระบบอื่นๆของรัฐอย่างเสมอภาค
มาตรา 16
ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในประการที่น่าจะมำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย
มาตรา 17
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย กักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่มีความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง
มาตรา 18
การรักษาด้วยไฟฟ้า ให้กระทำไก้ในผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า(Electroconvulsive Therapy)
ทำให้ผู้ป่วยชัก กระตุ้นให้สารสื่อนำประสาทภายในสมองที่หลั่งผิดปกติได้กลับมาทำงานโดยสม่ำเสมอ เมื่อสารสื่อนำประสาทหลั่งอย่างต่อเนื่องดีแล้วกระบวนการทำงานทางจิต รวมถึงสภาวะทางอารมณ์ ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมต่างๆ ก็จะกลับสู่ภาวะปกติ
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไม่สบายตัว สับสน สูญเสียความจำชั่วคราว บางรายมีผลข้างเคียงที่รุนแรงอาจทำให้กระดูกหัก ข้อเคลื่อน หรืออาจเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีโรคทางกายร่วม เช่น โรคหัวใจ โรคทางสมอง โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ เป็นต้น