Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind, นางสาวมิรันตรี พิลึก เลขที่ 64 ห้องB …
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
ประวัติทั่วไป
ประวัติครอบครัว
มีน้องสาว 1คน
ภรรยาชื่อ อลิเซีย มีลูก 1 คน
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
สัญชาติอเมริกัน เชื้อชาติอเมริกัน
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยมีคิดหมกหมุ่นเกี่ยวกับเรื่องตัวเลข
จนเกือบทำร้ายภรรยาเเละลูก
มีพฤติกรรมแปลกๆ
ไม่อยากมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
อาการและอาการแสดง
หวาดระเเวง
คิดว่าจะมีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
สาเหตุ
ด้านครอบครัว
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น
ครอบครัวตำหนิ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งประจำ
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยรุ่น
มีบุคลิกภาพที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
เมื่อเริ่มทำงาน
ชาร์ลอยู่กับเขาตลอดเวลาเเละเป็นเพื่อนคนเดียวที่สามารถพูดคุยได้
สนใจทางด้านคณิตศาสตร์และมุ่งมั่นในการเรียน
เรียนปริญญาเอก
หมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลกๆเพิ่มมากขึ้น
ชาร์ลส์เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิต
ให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยเสมอ
มีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
วัยเด็ก
มีปัญหาในการปรับตัวเข้ากับเพื่อน
เรียนเก่ง
ชอบเก็บตัว
ไม่ชอบทำกิจกรรมนันทนาการ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ช่วยให้อาการทางจิตของผู้ป่วยทุเลาลงอย่างรวดเร็ว
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภทชนิดหวาดระเเวง
(Schyzophrenia paranoid)
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองและผู้อื่นเนื่องจากมีอาการหวาดระเเวง
การพยาบาล
สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยเเบบตัวต่อตัว โดยเน้นความไว้วางใจและเชื่อถือ
ยอมรับในพฤติกรรมหวาดระเเวง ไม่โต้เเย้ง ต่อต้าน และประเมินระดับความรุนแรงของอาการ
จัดบรรยากาศให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย
จัดกิจกรรมให้ผู้ป่วย ลดเวลาให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียว
การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผยจริงจัง รักษาคำพูด ให้ข้อมูลอย่างชัดเจน
โรคหลงผิด Delusional disorder
ขาดสัมพันธภาพกับผู้อื่นเนื่องจากหลงผิด
สร้างสัมพันธภาพเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ
รับฟังความคิดเห็นของผู้ป่วยโดยไม่ตัดสินหรือตำหนิผู้ป่วย
การพยาบาล
ไม่โต้เถียงกับผู้ป่วยหรือให้เหตุผลว่าความเชื่อของผู้ป่วยนั้นผิด
บอกและให้ความจริงกับผู้ป่วย
การสนทนากับผู้ป่วยที่มีความหลงผิด ควรนำเทคนิคการสนทนาการให้คำปรึกษาต่างๆมาใช้ดังตัวอย่าง เช่นการสะท้อนความรู้สึก
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
ประสาทหลอน (Hallucination)
สูญเสียอัตมโนทัศน์เนื่องประสาทหลอน
การพยาบาล
เข้าใจและยอมรับในอาการผู้ป่วย ไม่ตำหนิ หรือพูดเชิงขบขัน
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ป่วยไว้วางใจและรู้สึกปลอดภัย
ใช้เทคนิคการสนทนาเช่นการ เสนอตัวช่วย การให้ข้อเท็จจริง
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
กฎหมายและพ.ร.บ ที่เกี่ยวข้อง
มาตราที่ 11 ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์และฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
มาตรา ที่13 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา 20/1 ของหมวด 2 สิทธิผู้ป่วยแห่งพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาเห็นว่าผู้ป่วยตามมาตรา29 มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาทางกายด้วย แต่ขาดความสามารถ ในการตัดสินใจ ให้
พระราชบัญญัติ สุขภาพจิต (ฉบับที่2) พ.ศ.2562
มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติ สุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
“ให้ผู้รับดูแลผู้ป่วยมีสิทธิได้รับบริการให้คำปรึกษา แนะนำ ฝึกอบรมทักษะ การจัดการศึกษา และการส่งเสริมอาชีพ ตลอดจนความช่วยเหลืออื่นใดเพื่อให้ดูแลผู้ป่วยต่อไปได้ ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่คณะกรรมการประกาศกำหนด”
นางสาวมิรันตรี พิลึก เลขที่ 64 ห้องB รหัสนักศึกษา 613601172