Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind, อ้างอิง กรมสุขภาพจิต…
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อนายจอห์นฟอบส์แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash Jr.) อายุ 24 ปี
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเชีย และลูก 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่น
ผู้ป่วยเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยมีความรู้สึกไม่อยากมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมที่แปลกๆ
delusion
การบำบัดรักษาโรคจิตหลงผิด
เน้นที่สัมพันธภาพในการรักษา ความสัมพันธ์ที่ดีสามารถช่วยผู้ป่วยได้ โดยรับฟังด้วยความเข้าใจ ไม่โต้แย้งคัดค้านอาการหลงผิดว่าไม่จริง ในขณะเดียวกันก็ไม่สนับสนุนความเชื่อของผู้ป่วย
การรักษาด้วยยา ด้วยยารักษาโรคจิตโดยอยู่ในความดูแลของแพทย์
รับตัวรักษาในโรงพยาบาล หากอาการรุนแรง เช่น มีความเสี่ยงต่อการทําร้ายตัวเอง หรือผู้อื่น
การมีความเชื่อ หรือความคิดไม่ตรงกับความเป็นจริง เรียกว่า อาการหลงผิด (delusion) ตั้งแต่ 1 เรื่องนานตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป
อาการ
ระแวงว่าตนถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกปองร้าย ผูกเรื่องเชื่อมโยงไปในแนวทางเดียวกัน ส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีประสาทหลอน เช่น หูแว่ว ผู้ปวยยังคงทําหน้าทีได้ตามปกติ ยกเว้นบางกิจกรรมทีเกียวข้องกับความหลงผิด เช่น ถ้าหลงผิดว่าเพือนร่วมงานกลันแกล้งก็อาจจะขอลาออกจากทีทํางาน ทัง ๆ ทียังทํางานด้านนั้นได้ตามปกติ ผู้ป่วยอาจจะไม่รู้ตัวว่ามีอาการหลงผิด
ปัจจัย
ปัจจัยด้านจิตใจ การเลี้ยงดู ที่ไม่ได้รับความอบอุ่น ทําให้ไม่เชื่อใจใคร และมีความรู้สึกไวต่อท่าที่ของผู้อื่น
ปัจจัยด้านสังคม เกิดจากสังคมที่มีความเครียด กดดัน การแข่งขันสูง การเอารัดเอาเปรียบ ทําให้รู้สึกว่าถูกผู้อื่นคุกคาม หรือรู้สึกว่าได้รับการกระทําทีไม่ดีจากผู้อืน จึงมีความระแวงได้มากขึน
ปัจจัยด้านชีวภาพ ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่พบว่าสัมพันธ์กับสมองส่วนทีควบคุมความเป็นเหตุผลและอารมณ์ความรู้สึก
ผลกระทบ
ส่งผลกระทบถึงการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เช่น การระแวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต อาจทําให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัวออกจากสังคม เพราะไม่อยากอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้น ต่อมาจะส่งผลกระทบต่อการทํางานและคุณภาพชีวิตได้ หากเป็นอาการหลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนนอกใจ อาจส่งผลให้เกิดการทําร้ายคู่ครองนําไปสู่ปัญหาครอบครัวในทีสุด
Hallucination
อาการ
เห็นภาพหลอน (Visual Hallucination)
เห็นภาพหรือเหตุการณ์ขึ้นมาเองโดยที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง อาจเห็นเป็นวัตถุ รูปภาพ ผู้คน หรือแสง เช่น เห็นแมลงไต่อยู่ทีมือหรือใบหน้าผู้อื่น หรือเห็นแสงสว่างทีคนอืนไม่เห็นหรือไม่ได้เกิดขึนจริง
หูแว่ว(Auditory Hallucination)
ได้ยินเสียงที่ดังมาจากจิตใจหรือดังมาจากภายนอก มักจะได้ยินเสียงคนกำลังพูดคุยกันหรือบอกให้ทําอะไรบางอย่าง ซึ่งในความเป็นจริงไม่มีใครพูดอยู่ หรืออาจได้ยินเสียงอืน ๆ เช่น คนกําลังเดิน มีเสียงเคาะ เป็นต้น
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น (Olfactory Hallucination)
จะคิดว่าสิ่งที่ตนเองกําลังได้กลิ่นเป็นกลิ่นที่มาจากบางสิ่งบางอย่างรอบ ๆ ตัว หรือเป็นกลิ่นทีมาจากตนเอง เช่น ได้กลินไม่พึงประสงค์เมื่อตื่นนอนมากลางดึก หรือได้กลิ่นทีไม่พึงประสงค์จากร่างกายตนเอง แต่ในความจริงแล้วไม่มีกลิ่นนั่น นอกจากนั่น อาจเป็นกลิ่นที่ตนเองชอบ เช่น กลิ่นหอมของดอกไม้ เป็นต้น
ประสาทหลอนจากการรับรส (Gustatory Hallucination)
ได้รับรสชาติของอาหารทีแปลกไปหรือเป็นรสชาติทีไม่พึงประสงค์ และมักพบในผู้ปวยโรคลมชัก
ประสาทหลอนจาการสัมผัส (Tactile Hallucination)
รู้สึกเหมือนถูกสัมผัสหรือมีบางสิ่งขยับอยู่ในร่างกาย เช่น รู้สึกเหมือนมีแมลงไต่อยู่บนผิวหนัง อวัยวะภายในกําลังเคลื่อนที่ รวมไปถึงอาจรู้สึกเหมือนมีมือของคนอืนมาสัมผัสร่างกายหรือจั๊กจี๋
สาเหตุ
ด้านจิตใจ
บุคคลมีความเครียดทางจิตใจ เกิดความรู้สึกวิตกกังวลมาก รู้สึกถูกทอดทิ้งไม่สามารถหาทางออกได้ จึงทำ ให้การรับรู้ต่อสิงแวดล้อมผิดไป
ด้านร่างกาย
เกิดการเจ็บป่วยทางกาย มีพยาธิสภาพที่สมอง สมองเสื่อมสมรรถภาพได้รับอุบติเหตุที่สมอง ภาวะติดเชื่อที่สมอง ไข้สูง ภาวะเจ็บป่วยอย่างรุนแรง การขาดการพักผ่อนนอนหลับขาดการกระตุ้น ความรู้สึกภาวะผิดปกติของสารเคมีในร่างกาย การได้รับสารพิษ แอลกอฮอล์สิ่งเสพติดอื่น ๆทีมีผลต่อการการทํางานของระบบประสาท
กฏหมายพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑๗ การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกัก บริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้ เว้นแต่เป็นความ จําเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ปวยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อืนโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ ชิดของผู้บําบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา ๒๓ ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชือว่าบุคคล นั้นมีความผิดปกติทางจิต คือมีภาวะอันตรายหรือ มีความ จําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษา ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้า หน้าที หรือตํารวจโดยเร็ว
มาตรา ๒๔ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตํารวจได้รับแจ้ง หรือพบ บุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ทีน่าเชือว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิต ให้ดําเนินการนําตัวผู้นั้นไปยังสถานพยาบาล เพื่อรับการตรวจ วินิจฉัย โดยการนําตัวบุคคลดังกล่าวไปสถานพยาบาล จะไม่ สามารถผูกมัดร่างกายของบุคลนั้นได้ เว้นแต่ความจําเป็นเพื่อ ป้องกันการเกิดอันตรายต่อบุคคลนั้นเอง บุคคลอื่น หรือ ทรัพย์สินของผู้อื่น
คาดการณ์โรคทีเกียวข้อง
คาดว่าผู้ป่วยเป็นโรคจิตเภท (Schyzophrenia)
ลักษณะทางคลินิก
ประเภทอาการหลงเหลือหลังเจ็บปวย Residual คือ ผู้ป่วยเคยมีประวัติการเจ็บป่วยด้วยจิตเภทอย่างน้อย 1 ครัง
ประเภทจําแนกไม่ได้ Undifferentiated คือ เป็นผู้ป่วยที่มีอาการเข้ากันได้กับจิคเภท แต่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้อย่างชัดเจน
ประเภทหวาดระแวง Paranoid คือ ผู้ปวย่จะมีความคิดทางผิดและมีภาวะประสาทหลอน
ประเภทว้าวุ่นสับสน Disorganized คือ การพูดสับสน
ประเภทพฤติกรรมคงรูปเดิม Coctatonic คือ เป็นจิตเภททีเกียวข้องกับกล้ามเนือทีควบคุมการเคลือนไหว
สาเหตุของโรค (ทฤษฎี)
ปัจจัยทางกรรมพันธ์ ในบุคคลครอบครัวเดียวกัน พบว่าการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของโรคจิตเภทเกิดขึ้นใน แฝดไข่ใบเดียวกัน
ปัจจัยทางชีวภาพ อาการของโรคจิตเภทเกิดจากสารสือประสาททีเรียกว่า Dopamine ทํางานมากเกินไป
ปัจจัยทางจิตใจ อาการโรคจิตเภทเกิดจากความผิดปกติในหน้าที Ego บุคคลทีมีความไวต่อความเครียดจะเกิดโรคจิตเภทมากกว่าคนทัวไป
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม โรคจิตเภทมักพบในคนจนมากกว่าคนรวย เพราะต้องเผชิญกับความเครียดเรืองเศรษฐกิจมากกว่า
การดําเนินโรค
ระยะเริมมีอาการ
ผู้ปวยส่วนใหญ่เริ่มมีอาการแบบค่อยเป็นค่อยไป มักมีปัญหาในด้านหน้าทีความรับผิดชอบ หรือด้านสัมพันธภาพ การเรียน การทํางานแย่ง
ระยะอาการกําเริบ
เป็นกลุ่มอาการด้านบวก พูดสับสน คิดไม่ต่อเนือง หลงผิด ประสาทหลอน หูแว่ว หุนหันพลันแล่น อารมณ์ครืนเครง ร่าเริงผิดปกติ
ระยะอาการหลงเหลือ
อาการคล้ายคลึงกับระยะเริ่มมีอาการ เช่น ประสาทหลอนหรือหลงผิดยังมีอยู่ แต่มิได้มีผลต่อผู้ป่วยมากเหมือนช่วงแรก
อาการและอาการแสดง
อาการทางบวก พูดสับสน คิดไม่ต่อเนือง หลงผิด ประสาทหลอน หูแว่ว หุนหันพลันแล่น อารมณ์ครืนเครง ร่าเริงผิดปกติ
อาการทางลบ พูดน้อยหรือไม่พูดเลย แยกตัว อารมณ์เฉยเมย สีหน้าเรียบเฉย ขาดความสนใจในกิจกรรม ขาดความสุข ซึมเศร้า สมาธิแย่ลง การตอบสนองบกพร่อง
การรักษา
การรักษาด้วยไฟฟา ECT
การบําบัดด้านจิตสังคม
กลุ่มบําบัด
จิตบําบัด
ครอบครัวบําบัด
การรักษาด้วยยา
ตามเกณฑ์วินิจฉัย DSM-5
A. มีอาการต่อไปนีตั้งแต่2 อาการขึ้นไปนาน 1 เดือน โดย อย่างน้อยต้องมีอาการในข้อ 1-3 อยู่1 อาการ
(1) อาการหลงผิด
(2) อาการประสาทหลอน
(3) การพูดอย่างไม่มีระ เบียบแบบแผน
(4) พฤติกรรมทีไม่มีระเบียบ แบบแผนที่คนในสังคมหรือ วัฒนธรรมของผู้ป่วยไม่ทํากัน
(5) อาการด้านลบ เช่น สีหน้าทือ เฉยเมย แยกตัวจากคนอืน
B. ระดับความสามารถในด้านสําคัญๆ เช่น ด้านการ ทํางาน การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือการดูแล ตนเอง ลดลงไปจากเดิมอย่างชัดเจนอย่างน้อยหนึ่งด้าน
C. มีอาการต่อเนืองกันนาน 6 เดือนขึ้นไป
D. ต้องแยก โรคจิตอารมณ์โรคซึมเศร้า โรค อารมณ์สองขั้วออก
E. ต้องแยกอาการโรคจิตทีเกิดจากโรคทางกายและ สารเสพติดออก
F. ผู้ปวยทีมีประวัติกลุ่มโรคออทิสติก หรือโรคเกี่ยวกับการสือสาร ตังแต่วัยเด็ก จะวินิจฉัยโรคจิตเภทก็ต่อเมือมีอาการหลงผิดหรือ อาการประสาทหลอนทีเด่นชัดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน
การรักษา
การรับผู้ปวยรักษาในโรงพยาบาล
ช่วยลดความเครียดที่มีใจผู้ปวยและครอบครัวลงได้ผู้ป่วยได้รับการดูแลภายจากบุคลากรด้านจติเวชซึ้งจะช่วยในด้านอืน ๆ
การรักษาด้วยไฟฟา (electroconvulsive therapy)
การรักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยาฉีด
การฟื้นฟูสภาพจิตใจ โดยฝึกการเข้าสังคมและให้คําปรึกษาแก่ผู้ปวย
ทําจิตบําบัด
กลุ่มบําบัด
ครอบครัวบําบัด
ประเด็นทีสงสัย
Q: การเจ็บป่วยของผู้ปวยส่งผลต่อคนรอบข้างอย่างไร
ส่งผลทําให้ภรรยาของเกิดความเครียด และเกือบทําร้ายภรรยาและลูกเนื่องจากเห็นภาพหลอน ผู้ปวยมีความหวาดระแวงตลอดเวลา กลัวมีคนมาทําร้าย สะกดรอยตาม
Q: ครอบครัวจะมีส่วนช่วยในการรักษาผู้ป่วยอย่างไรบ้าง
คิดว่า คนในครอบครัวคือส่วนสําคัญทีสุดที่จะทําให้ผู้ปวยมีอาการดีขึน ควรทําความเข้าใจ เปิดใจรับฟัง รวมถึงให้กําลังใจผู้ป่วย และไม่มองว่าผู้ปวยเป็นบุคคลอันตราย หรือแสดงอาการหวาดกลัวต่อผู้ปวย หลีกเลี่ยงการพูดจาด้วยถ้อยคํารุนแรงต่อผู้ป่วย เพราะอาจส่งผลให้อาการมีความรุนแรงมาก
Q: พัฒนาการในวัยเด็กส่งผลกระทบหรือไม่
คิดว่าเพราะสภาพแวดล้อมในวัยเด็กทีชอบเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท ไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการ และมุ่งเน้นไปทางคณิตศาสตร์ การทดลอง จนให้เริมมีพฤติกรรมทีแตกต่างจากคนอืน
Q: ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาทีโรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาทีบ้านโดยคนในครอบครัว
คิดว่าควรได้รับการรักษาทีโรงพยาบาล เพราะผู้ป่วยเคยได้รับ การรักษาจนดีขึน แต่มีอาการอีก โดยทังผู้ป่วยหยุดยาเองทําให้คนในครอบครัวเกิดความเครียด จะทําร้ายภรรยายและลูกเพราะประสาทหลอน ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสือประสาทในสมอง
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ด้านครอบครัว
ภาวะเศรษกิจของครอบครัว
ครอบครัวตําหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึน
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป็นคนเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนสนิท
โดนเพื่อนแกล้ง
อ้างอิง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข(2560).คู่มือการดูแลผู้ปวยโรคจิตเภท สําหรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับแพทย์).สืบค้น 23 มิถุนาย 2563, จาก
http://mhtech.dmh.moph.go.th/fileupload/202002061595902378.pdf
สรญา แสงเย็นพันธ์ (2563). พฤติกรรมสุขภาพ สืบค้น 23 มิถุนาย 2563, จาก
https://www.ha.or.th/Backend/fileupload/
นางสาวศศิวิมล หลงชิน เลขที่ 74 ห้อง 2B รหัสนักศึกษา 613601182