Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คิดว่าเป็นโรค Schyzophrenia - Coggle Diagram
คิดว่าเป็นโรค Schyzophrenia
สาเหตุ
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งประจำ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านชีวเคมีของสมอง
สารสื่อประสาทในสมอง
สารเคมีในสมองที่ชื่อว่าโดปามีน (dopamine) ในบางบริเวณของสมอง มีการทำงานมากเกินไป
อาการและอาการแสดง
ไม่ชอบการเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายคนรอบตัว
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้ายขวาตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
คุยโต้ตอบกับใใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
หวาดระแวง
คิดว่ามีคนจะมาทำร้าย
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
การรักษา
การรักษาทางชีวภาพ
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ECT 1 course (5 times per week/ 10 weeks)
การรักษาด้วยยา
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
การรักษาด้านจิตสังคม
พฤติกรรมบําบัด
เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง
กลุ่มบําบัด
ให้เกิดการเรียนรู้แลดเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น
จิตบําบัดรายบุคคล
ให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย และเกิดความไว้วางใจ
ครอบครัวบําบัด
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการบำบัด
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
จัดสิ่งแวดล้อมให้ดูปลอดภัย โดยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ข้อวินิจฉัย
สัมพันธภาพกับผู้อื่นบกพร่องเนื่องจากมีความคิดหวาดระแวง
มีพฤติกรรมก้าวร้าวและไม่เป็นมิตรเนื่องจากมองโลกในแง่ร้าย
บกพร่องในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากมีความคิดหวาดระแวง
แยกตนเองเนื่องจากไม่ไว้ใจผู้อื่น
การพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีความหวาดระแวงในบางสิ่ง เช่น มีคนจะลอบฆ่า พยาบาลต้องยอมรับและจ้ดบรรยากาศให้ผู้ ป่วยรู้สึกปลอดภัย
สร้างความไวว้างใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบ (One to one relationship) โดยเน้นการสร้างความวางใจและความเชื่อถือ
ผู้ป่วยหวาดระแวง มักจะมีความโกรธก้าวร้าวควบคู่ไปด้วยเสมอควรใช้วิธีโอนอ่อนผ่อนปรนอดทนในสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออก
ยอมรับในพฤติกรรมหวาดระแวง ไม่โต้แย้ง ต่อต้าน และประเมินระดับความรุนแรงของอาการ
ให้ผู้ป่วยมีกิจกรรม ลดเวลาที่ผู้ป่วยอยู่คนเดียว ซึ่งอาจทำให้มีความคิดหมกมุ่นอยู่ในเรื่องเดิมๆ
การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผยจริงใจรักษาคำพูด ให้ข้อมูลอย่างชัดเจนตรงไปตรงมา
ในการสนทนาและติดต่อสื่อสารใช้เทคนิคการสนทนา
ระมัดระวังอันตรายจากอุบัติเหตุหรืออารมณ์รุนแรงที่เกิดจากการหลงผิด ประสาทหลอนของผู้ป่วย
แสดงความเห็นใจพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้ป่วยทัน ทีที่ผู้ป่วยต้องการ
Paranoid Type เพราะมีความหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิด หรือหูแว่ว
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มอาการด้านบวก (Positive symptoms)
แสดงออกทางด้านความผิดปกติของความคิด การรับรู้การติดต่อสื่อสารและการแสดงพฤติกรรม มีอาการประสาทหลอน หลงผิดความคิดผิดปกติและแสดงพฤติกรรมที่ผิดปกติเช่น มีพฤติกรรมรุนแรงก้าวร้าว
กลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms)
แสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์ ได้แก่ สีหน้าเฉยเมยไม่แสดงอารมณ์ใด ไม่พูด แยกตัวเองขาดความสนใจและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ยินดียินร้ายกับสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว สัมพันธภาพกับผู้อื่นไม่ดี ความคิดในเชิงนามธรรมเสียไป
การวินิจฉัย
มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ข้อขึ้นไป นาน 1 เดือน (หรืออาจน้อยกว่า 1 เดือน หากผู้ป่วยได้รับการรักษา)
มีความผิดปกติของคําพูด (Disorganized speech)
พูดคุยโต้ตอบกับเพื่อนร่วมห้องและหลานของเขาและสายลับที่นำเขาเข้าไปรับงานราชการลับด้านความมั่นคง
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวผิดปกติหรือพฤติกรรมวุ่นวาย (Catatonic behavior หรือ grossly disorganized behavior)
มีอาการระหวาดระแวงตลอดเวลา อยู่ไม่นิ่ง
วิ่งหนีออกจากที่ทำงานคิดว่ามีคนตามมาทำร้าย
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
คิดว่ามีคนจะมาทำร้าย
เห็นคนสะกดรอยตาม
เห็นเพื่อนร่วมห้องและหลานของเขาและสายลับที่นำเขาเข้าไปรับงานราชการลับด้านความมั่นคง
มีอาการด้านลบ
แยกตัวออกห่างจากบุคคลอื่น
เก็บตัวอยู่ในห้อง
อาการหลงผิด (Delusion)
เชื่อว่าตนเองคือสายลับของกระทรวงกลาโหม
คิดว่าถูกปองร้ายจากสายลับรัสเซีย