Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A beautuful mild, นางสาวนัสรียะห์ อูมะ 2A เลขที่ 42 …
ภาพยนต์สั้น A beautuful mild
อาการและอาการแสดง
อารมณ์
แสดงอารมณ์ลดลงมาก หน้าตาเฉยเมย ไม่สบตา
ความคิด-หลงผิด (Delusion)
คิดว่าจะมีคนอื่นมาทำร้าย คิดว่าตนเองถูกควบคุมจากอำนาจภายนอก
คิดว่าตนเองยิ่งใหญ่ มีอำนาจหรือความสามารถพิเศษ
การรับรู้-อาการประสาทหลอน
หูแวว ได้ยินเสียงคนพูดว่า หรือให้ทำตาม หรือไม่มีความหมาย
การสื่อสาร
พูดสับสน เปลี่ยนเรื่องพูดเร็ว ไม่เชื่อมโยงหรือบางรายพูดน้อย ไม่ค่อยตอบคำถาม
พฤติกรรมเปลี่ยนจากเดิมที่เคยเป็น
สกปรก แปลก วุ่นวาย ตะโกน โดยไม่มีอะไรกระตุ้น กระวนกระวาย
บางรายขาดความกระตื้อรื้อร้น เื่อยชา เก็บตัว นั่งเฉยๆนานๆ
สาเหตุ
2.กรรมพันธุ์
ญาติของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูงกว่าประชากรทั่วไป
3.ระบบสารเคมีในสมอง
สารเคมีในสมองที่ชื่อว่าโตปามีน (dopomine) ในบางบริเวณของสมอง
มีการทำงานมากเกินไป และพบว่าการที่ยารักษาโรคจิตรักษาโรคนี้ได้เป็น
จากการใช้ยาไปออกฤทธิ์ยับยั้งการออกฤทธิ์ของสารโดปามีน
1.เป็นความผิดปกติที่ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
4.ความผิดปกติในส่วนอื่นๆของสมอง
ช่องในสมองโตกว่าปกติ (vantricle) โตกว่าปกติ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอาการด้านลบเป็นอาการเด่น
ครอบครัวพบว่าสภาพครอบครัวมีผลกระทบต่อการกำเริบของโรค ชอบตำหนิตีเตียงผู้ป่วย มีท่าที่ไม่เป็นมิตร หรือเข้าไปจู้จี้ยุ่งเกี่ยวกับผู้ป่วยมากเกินไป
ยาหรือสารต่างๆ เรื่องของจิตใจหรือสภาพแวดล้อมที่กดดัน หรือเป็นจากหลายๆประการร่วมกัน
การรักษา
การรักษาด้วยยา
จิตบำบัด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ครอบครัวบำบัด
นิเวศบำบัด
การวินิจฉัยแยกโรค
โรคทางกายหรือยาและสารเสพติด
โรคอารมณ์ผิดปกติ
ก่อนจะมีอาการโรคจิตผู็ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ให้เห็น
โรคหลงผิด
อาการจะเกิดขึ้นเร็ว ผู้ป่วยมีลักษณะเพ้อสับสน มีอาการขณะอายุมาก
หรือตรวจพบความผิดปกติทางกายที่เกี่ยวข้องกับอาการโรคจิต
ไม่มีอาการหูแว่วเป็นเรื่องราวชัดเจน ผู้ป่วยจิตเวชจะมีบุคลิกและพฤติกรรมที่เสื่อมมากกว่า
Depressive disorder เป็นอาการหลัก มักจะมีอารมณ์ รู้สึกเบื่อหน่าย ท้อแท้รู้สึกไร้ค่า สิ้นหวัง ความสนใจในสิ่งต่างลดลง
Personality disorder
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะไม่มีอาการจิตเวชในระยะอาการกำเริบ
กฏหมาย พรบ.สุขภาพจิต 2551
มาตรา 17การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy, ECT) ให้กระทำได้ในกรณีที่ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร และต้องรับทราบถึงเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน ประโยชน์ของการบำบัด แต่ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็น การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าต้องได้รับความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ส่วนการให้ความยินยอมเพื่อรับการรักษา ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต หรือผู้บกพร่องทางพัฒนาการหรือสติปัญญา ให้คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล เป็นผู้ให้ความยินยอมแทน
มาตรา 23 ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิต คือมีภาวะอันตรายหรือ มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือตำรวจโดยเร็ว
มาตรา 27 การตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น ต้องให้แล้วเสร็จ ภายใน 48 ชั่วโมง นับตั้งแต่บุคคลนั้นมาถึงสถานพยาบาล และผู้ที่ทำการตรวจวินิจฉัยต้องบันทึกรายละเอียดในแบบรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น
วินิจัยหลัก 5D
A :มีลักษณะอาการต่อไปนี้ 2 อาการขึ้นไป นาน 2 เดือน
อาการหลงผิด
ประสาทหลอน
ความผิดปกติขอวกระบวนการคิด
B: มีปัญหาในด้านการงาน สัมพันธภาพและการดูแลสุขอนามัยตนเองตนเอง
C: มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไปโดยต้องมีอาการแสดงข้างต้นอย่างน้อย 1 เดือน
D. ไม่มีอาการเข้าได้กับโรค Schizoaffective disorder และ Depressive disorder หรือ Bipolar disorder ที่มีอาการทางจิต
ร่วมด้วย
E. อาการไม่ได้เกิดจำกสาเหตุทาร่างกาย หรือการใช้สารเสพติด
นางสาวนัสรียะห์ อูมะ 2A เลขที่ 42
รหัสนักศึกษา613601043