Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนตร์สั้น เรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนตร์สั้น เรื่อง A beautiful mind
ประะวัติทั่วไป
ประวัติส่วนตัว
ชื่อนายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ครอบครัว
ความสัมพันธภาพ
เก็บตัวอยู่คนเดียวเป็นส่วนใหญ่
เกือบจะทำร้ายคนในครอบครัว
ไม่ต้องการมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
สมาชิก
น้องสาว 1 คน
ภรรยา 1 คน
บุตร 1 คน
โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
โรคจิตเภท(Schyzophrenia)
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง(Schyzophrenia paranoid)
โรคจิตหลงผิด(Delusional disoder)
สาเหตุ
พันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ครอบครัว
ถูกครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวที่ไม่ดี
สังคม
สภาพแวดล้อม
ขาดสัมพันธภาพ
จิตใจ
ความเครียด
กดดัน
ประสบการณ์โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่ามีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม หูแว่ว
เห็นภาพหลอนคิดว่ามีเพื่อนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่ามีคนมาทำร้าย
พฤติกรรม
ควบคุมตัวเองไม่ได้
ทำร้ายตัวเอง
ทำร้ายคนในครอบครัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
เก็บตัวอยู่คนเดียว
ไม่มีเพื่อน
บุคลิก
เดินหลังค่อม
มองซ้ายขวาตลอดเวลา
กระวนกระวาย
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย
พัฒนาการตามช่วงวัน
ในวัยเด็ก
ชอบเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนและมีปัญหาในการปรับตัว
เรียนเก่ง
ทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเองตอนอายุ 12 ปี
ช่วงวัยรุ่น
สนใจด้านคณิตศาสตร์ มุ่งมั่นในการเรียน
บุคคลิกแตกต่างจากผู้อื่น
มีชาร์ลเป็นเพื่อนที่พูดคุยได้(ภาพหลอน)
เรียนปริญญาเอก
โดดเด่นด้านการเรียน
กดดันและหมกมุ่นมากขึ้น
ชาร์ลเขามามีบทบาทมากขึ้นและให้กำลังใจ
การรักษา
รักษาด้วยยา
ยารับประทานต่อเนื่อง
ยาฉีด
รักษาด้วยการช๊อตไฟฟ้า
การดูแลของครอบครัว
ความเข้าใจของครอบครัว
คอยดูแลให้ผู้ป่วยทานยาอย่างต่อเนื่อง
คอยให้กำลังใจและอยู่เคียงข้างเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
ประเด็นที่สงสัย
การเลี้ยงดูจากครอบครัวเป็นอย่างไร
สิ่งแวดล้อมในวัยเด็กเป็นอย่างไร
ผลจากการรักษาเป็นอย่างไร
เพราะเหตุใดผู้ป่วยถึงไม่ยอมรับประทานยา
ครอบครัวสามารถช่วยให้อาการผู้ป่วยดีขึ้นได้หรือไม่
เพราะเหตุใดผู้ป่วยถึงถูกเพื่อนรังแกในวัยเด็ก
เพราะเหตุใดผู้ป่วยจึงคิดว่าตนทำงานเป็นสายลับ
พระราชบัญญัติ
มาตราที่๑๗ : การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณหรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษา ตามมาตรฐานวิชาชีพ
มาตราที่๒๔ : เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตำรวจได้รับแจ้งหรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิตให้ดำเนินการนำตัวผู้นั้นไปยังสถานพยาบาลจะไม่สามารถผูกมัดร่างกายของบุคคลนั้นได้เว้นแต่ความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อบุคคลนั้นเอง บุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่น