Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน - Coggle…
บทที่ 5 พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
ตราพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็นต้นไป
-
มาตรา ๓
ในพระราชบัญญัตินี้ ให้ความหมายของคำต่างๆ เช่น สุขภาพ ระบบสุขภาพ ปัญญา ฯลฯ
มาตรา ๔
ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕
บุคคลมีสิทธิในการดำงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๖
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
มาตรา ๗
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคลผู้ใดจะนำไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคล นั้โดยตง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา ๘
ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอ
มาตรา ๙
ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า และต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับบริการก่อน
มาตรา ๑๐
การเปิดเผยข้อมูลตามวรรคหนึ่งต้องไม่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลใดเป็นการเฉพาะ
มาตรา ๑๑
บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา ๑๒
บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
หมวด ๒ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓
ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “คสช.”
มาตรา ๑๔
กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๑๕
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) ให้ดำเนินการ
มาตรา ๑๖
การเลือกกรรมการ ตามมาตรา ๑๓ (๘)ให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกำหนด
มาตรา ๑๗
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๙) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกำหนด
มาตรา ๑๘
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๑๐) ให้คณะกรรมการสรรหาดำเนินการดังต่อไปนี้ เช่น จัดกลุ่มขององค์กรภาคเอกชนตามลักษณะของกิจกรรมที่ดำเนินงานเกี่ยวกับสุขภาพ
มาตรา ๑๙
ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง ซึ่ง คสช. แต่งตั้ง
มาตรา ๒๐
ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๒๑
กรรมการตามมาตรา ๑๓ มีวาาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปีจะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา ๒๒
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖)พ้นจากตำแหน่งเมื่อพ้นจากตำแหน่งตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๕ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๓
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระเมื่อ ตาย ลาออก ถูกจำคุก ขาดคุณสมบัติ เป็นต้น
มาตรา ๒๔
หลักเกณฑ์และวิธีการการประชุม คสช. และการปฏิบัติงานของ คสช.ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คสช. กำหนด
มาตรา ๒๕
ให้ คสช. มีหน้าที่และอำนาจ
หมวด ๓ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖
ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบราชการแผ่นดิน
มาตรา ๒๗
ให้สำนักงานมีหน้าที่และอำนาจ เช่น รับผิดชอบงานธุรการของ คสช. และคณะกรรมการบริหาร ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน
มาตรา ๒๘
รายได้ของสำนักงาน ประกอบด้วย เช่น เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้ตามความเหมาะสมเป็นรายปี เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ เป็นต้น
มาตรา ๒๙
บรรดารายได้ของสำนักงานตามมาตรา ๒๘ ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
มาตรา ๓๐
การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกำหนด
มาตรา ๓๑
ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของสำนักงานขึ้นตรงต่อ คสช.มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งงานของสำนักงาน และเป็นผู้บังคับบัญชาพนังานและลูกจ้างในสำนักงาน
มาตรา ๓๒
ให้เลขาธิการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา ๓๓
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้ว เลขาธิการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ถูกจำคุก เป็นต้น
มาตรา ๓๔
เลขาธิการมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๓๕
เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกำหนดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๓๖
ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสำนักงานในกิจการของสำนักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก
มาตรา ๓๗
ให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
มาตรา ๓๙
คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๓๘
การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คสช. กำหนด
หมวด ๔ สมัชชาสุขภาพ
มาตรา ๔๐
การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นหรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คสช. กำหนด
มาตรา ๔๑
ให้ คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๔๒
ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติคณะหนึ่งมีจำนวนตามที่ คสช. กำหนด
มาตรา ๔๓
ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีหน้าที่ในการจัดการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการประชุม ซึ่งต้องประกาศให้ประชาชนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันประชุม
มาตรา ๔๔
ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใดให้สมัครลงทะเบียนสำหรับการประชุมครั้งนั้นต่อเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกำหนดตามแบบและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกำหนด
มาตรา ๔๕
ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนำไปปฏิบัติหรือนำไปพิจารณาประกอบในการกำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ให้เสนอต่อ คสช. เพื่อพิจารณาดำเนินการให้บรรลุผลตามควรแก่กรณีต่อไป
หมวด ๕ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๖
ให้ คสช. จัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
มาตรา ๔๗
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๔๘
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ และนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพตามมาตรา ๒๕ (๒) ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห้นชอบแล้วให้ผูกพันหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะต้องดำเนินการต่อไปตามอำนาจหน้าที่ของตน
หมวด ๖ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๙
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ความผิดตามมาตรานี้เป็นความผิดอันยอมความได้
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
ตราพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕"
มาตรา ๒๑
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓
ในพระราชบัญญัตินี้ให้ความหมายของคำต่างๆ เช่น บริการสาธารณสุข บริการสาธารณสุข เครือข่ายหน่วยบริการ เป็นต้น
มาตรา ๔
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑ สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๕
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖
บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจำ
มาตรา ๗
บุคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้ว ให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วย บริการประจำของตนหรือหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๘
ผู้ซึ่งมีสิทธิตามมาตรา ๕ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนตามมาตรา ๖ อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้ และให้หน่วยบริการที่ให้บริการแก่บุคคลดังกล่าวจัดให้บุคคลนั้นลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจำตามมาตรา ๖ และแจ้งให้สำนักงานทราบภายในสามสิบวันนับแต่ให้บริการ
มาตรา ๙
ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของบุคคล
มาตรา ๑๐
ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา ๑๑
ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้เมื่อใดแล้วให้หน่วยบริการแจ้งการเข้ารับบริการนั้นต่อสำนักงานและให้สำนักงานมีสิทธิเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนเงินทดแทน
มาตรา ๑๒
ในกรณีที่ผู้ประสบภัยจากรถตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มคอง ผู้ประสบภัยจากรถผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้เมื่อใดแล้วให้หน่วยบริการแจ้งการเข้ารับบริการนั้นต่อสำนักงานและให้สำนักงานมีสิทธิเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย
หมวด ๒ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา ๑๔
กรรมการตามมาตรา ๑๓ จะดำรงตำแหน่งกรรมการตามมาตรา ๔๘ ในขณะเดียวกันมิได้
มาตรา ๑๕
มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับเลือกหรือแต่งตั้งใหม่อีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งเกินกว่าสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๖
นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่งแล้วกรรมการตามาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) และ (๖) พ้นจากตำแหน่ง เมื่อ ตาย ลาออก เป็นบุคคลล้มละลาย เป็นต้น
มาตรา ๑๗
การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๘
คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๑๙
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลสำนักงานให้ดำเนินกิจการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
มาตรา ๒๐
คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๒๑
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบขึ้นคณะหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบการบริหารเงินและการดำเนินงานของสำนักงาน
มาตรา ๒๒
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ
มาตรา ๒๓
ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ ตามที่รัฐมนตรีกำหนด
หมวด ๓ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๔
ให้มีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรี
มาตรา ๒๕
ให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร หรือในเขตจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา ๒๖
ให้สำนักงานมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๗
ทรัพย์สินของสำนักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งบังคับคดี
มาตรา ๒๘
บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สำนักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให้ หรือได้มาโดยการซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสำนักงาน ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสำนักงาน
มาตรา ๒๙
ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักงาน
มาตรา ๓๐
การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๓๑
ให้สำนักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารกิจการของสำนักงานให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการ และเป็นผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของสำนักงานทุกตำแหน่ง
มาตรา ๓๒
เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๓๓
เลขาธิการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๒ เป็นต้น
มาตรา ๓๔
ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๓๕
ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงและให้ถือเป็นผู้ดำรงตำแหน่งซึ่งต้องห้ามมิให้ดำเนินกิจการที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
มาตรา ๓๖
เลขาธิการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๓๗
ให้มีสำนักตรวจสอบขึ้นในสำนักงานทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบและให้รับผิดชอบขึ้นตรงต่อคณะอนุกรรมการตรวจสอบและรายงานเลขาธิการตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
หมวด ๔ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๓๘
ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา ๓๙
กองทุนประกอบด้วย เช่น เงินที่ได้รับจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี เงินที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัติ เป็นต้น
มาตรา ๔๐
การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุน รวมทั้งการนำเงินกองทุนไปจัดหาผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๑
ให้คณะกรรมการกันเงินจำนวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ
มาตรา ๔๒
ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทำผิดได้แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควรตามมาตรา ๔๑ เมื่อสำนักงานได้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการไปแล้ว สำนักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทำผิดได้
มาตรา ๔๓
ภายในสามเดือนนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ให้คณะกรรมการเสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินของกองทุนในปีที่ล่วงมา ซึ่งสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบรับรองแล้วต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
หมวด ๕ หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๔
ให้สำนักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการแล้วประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ เพื่อดำเนินการลงทะเบียนเลือกเป็นหน่วยบริการประจำของตนตามมาตรา ๖
มาตรา ๔๕
ให้หน่วยบริการมีหน้าที่
มาตรา ๔๖
หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา ๔๔ และหน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๗
เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
หมวด ๖ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข”
มาตรา ๔๙
การดำรงตำแหน่ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งและการประชุมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ให้นำมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๕๐
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๕๑
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติตามที่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมอบหมายได้
มาตรา ๕๒
ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน และคณะอนุกรรมการมีอำนาจขอให้หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวข้องมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง มาให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณาได้
มาตรา ๕๓
ให้กรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและอนุกรรมการได้รับค่าเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายอื่น ในปฏิบัติหน้าที่ตามที่รัฐมนตรีกำหนด
หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๕๔
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการ หรือของเครือข่ายหน่วยบริการ ในระหว่างเวลาทำการ
มาตรา ๕๕
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา ๕๖
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๘ การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา ๔๗
ในกรณีที่สำนักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กำหนด ให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
มาตรา ๕๘
ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๕๗ ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนด ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานดำเนินกา
มาตรา ๕๙
ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับบริการสาธารณสุขที่กำหนดตามพระราชบัญญัตินี้จากหน่วยบริการหรือหน่วยบริการเรียกเก็บค่าบริการจากตนโดยไม่มีสิทธิที่จะเก็บหรือเรียกเก็บเกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๖๐
ในกรณีที่การกระทำผิดของหน่วยบริการตามมาตรา ๕๘ หรือมาตรา ๕๙ เป็นการกระทำผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ำหลายครั้ง ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อพิจารณาดำเนินการ
มาตรา ๖๑
ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคำสั่งจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานตามหมวดนี้ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งหรือวันที่ได้รับทราบคำสั่ง แล้วแต่กรณี
มาตรา ๖๒
เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งตามมาตรา ๖๑ ผลเป็นประการใดแล้ว ให้เลขาธิการรายงานผลการดำเนินการหรือคำวินิจฉัยต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อทราบ
หมวด ๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๖๓
ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานองระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๔
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๕๕ วรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑
ตราพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓
ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๐๔
มาตรา ๔
ในพระราชบัญญัตินี้ ให้ความหมายของคำต่างๆ เช่น สถานพยาบาล ใบอนุญาต พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้อนุญาต เป็นต้น
มาตรา ๕
พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่สถานพยาบาลซึ่งดำเนินการโดยกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาของรัฐ หน่วยงานอื่นของรัฐ สภากาชาดไทย และสถานพยาบาลอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกำหนด
มาตรา ๖
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๑ คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา ๗
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการสถานพยาบาล”
มาตรา ๘
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๗ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได้
มาตรา ๙
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๗ พ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๑๐
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๑
คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ให้ความเห็น และให้คำแนะนำแก่ร้ฐมนตรีหรือผู้อนุญาต
มาตรา ๑๒
คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในขอบเขตแห่งหน้าที่ของคณะกรรมการได้
มาตรา ๑๓
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นตามมาตรา ๑๒ มีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือสิ่งใดมาเพื่อประกอบการพิจารณาได้
หมวด ๒ การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำเนินการสถาพยาบาล
มาตรา ๑๔/๑
สถานพยาบาลอาจจัดให้มีการศึกษา การฝึกอบรม การวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๑๕
ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
มาตรา ๑๖
ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๑๗
ผู้ขอรับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๑๘
ในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลของผู้อนุญาต จะต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาตได้จัดให้มีกรณีดังต่อไปนี้โดยถูกต้องครบถ้วนแล้ว
มาตรา ๑๙
ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๒๐
ผู้รับอนุญาตต้องชำระค่าธรรมเนียมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาที่ยังประกอบกิจการ
มาตรา ๒๑
การโอนใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้แก่บุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๗ ให้กระทำได้ เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๒๒
ถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลแสดงความจำนงต่อผู้อนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตายพื่อขอประกอบกิจการที่ผู้ตายได้รับอนุญาตนั้นต่อไป
มาตรา ๒๓
ผู้รับอนุญาตต้องจัดให้มีผู้ดำเนินการคนหนึ่ง เป็นผู้มีหน้าที่ควบคุม ดูแลและรับผิดชอบในการดำเนินการสถานพยาบาล
มาตรา ๒๔
ห้ามมิให้บุคคลใดดำเนินการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๒๕
ในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาลของผู้อนุญาตจะต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาต
มาตรา ๒๖
ถ้าผู้ดำเนินการพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวันผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๕ ดำเนินการแทนได้ไม่เกินเก้าสิบวันในกรณีเช่นว่านี้ให้ผู้ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการแทนแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบภายในสาม
วันนับแต่วันที่เข้าดำเนินการแทน
มาตรา ๒๗
ผู้รับอนุญาต ผู้ดำเนินการ และผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลแห่งหนึ่ง ๆ จะเป็นบุคคลคนเดียวกันก็ได้
มาตรา ๒๘
ใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สองนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๒๙
ในกรณีที่ผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาต แล้วแต่กรณี
มาตรา ๓๐
ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลายในสาระสำคัญให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการ แล้วแต่กรณีแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับทราบการสูญหายหรือถูกทำลายดังกล่าว
มาตรา ๓๑
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานพยาบาลนั้น
มาตรา ๓๒
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงรายละเอียด ณ สถานพยาบาลนั้น
มาตรา ๓๓
รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การบริการทางการแพทย์ หรือการบริการอื่นของสถานพยาบาล และสิทธิของผู้ป่วย ซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้องแสดงตามมาตรา ๓๒ (๓)
มาตรา ๓๔
ให้ผู้ดำเนินการมีหน้าที่และความรับผิดชอบ
มาตรา ๓๕
ให้ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการมีหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกัน
มาตรา ๓๖
ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการของสถานพยาบาลต้องควบคุมและดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วย
มาตรา ๓๗
ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะรให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๓๘
ผู้ใดประสงค์จะโฆษณาหรือประกาศด้วยประการใด ๆยวกับการประกอบกิจการของสถานพยาบาล นอกจากชื่อและที่ตั้งของสถานพยาบาลตามที่ปรากฏในใบอนุญาต ต้องได้รับอนุมัติข้อความ เสียง หรือภาพที่ใช้ในการโฆษณาหรือประกาศจากผู้อนุญาตทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าใช้จ่ายที่ผู้อนุญาตประกาศกำหนด
มาตรา ๓๙
ในกรณีที่มีการโฆษณาหรือประกาศฝ่าฝืนมาตรา ๓๘ ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งเป็นหนังสือให้ผู้โฆษณาหรือประกาศระงับการกระทำดังกล่าวได้
มาตรา ๔๐
ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการของสถานพยาบาลให้แตกต่างไปจากที่ระบุไว้ในใบอนุญาตหรือก่อสร้างอาคารขึ้นใหม่ หรือดัดแปลงอาคารเกินกว่าที่กำหนดในกฎกระทรวงเพื่อใช้ในการประกอบกิจการสถานพยาบาลให้กระทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๔๑
ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตประสงค์จะย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อื่น ให้ดำเนินการเสมือนเป็นผู้ขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
มาตรา ๔๒
เมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ตามมาตรา ๑๘ผู้รับอนุญาตต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบภายในกำหนดสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น
มาตรา ๔๓
ภายใต้บังคับมาตรา ๑๘ (๕) การเปลี่ยนชื่อสถานพยาบาลต้องได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๔๔
ผู้รับอนุญาตผู้ใดประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทำรายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบห้าวันทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๕
ให้ผู้อนุญาตจัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจลักษณะของสถานพยาบาลและการประกอบกิจการของสถานพยาบาลให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้โดยสม่ำเสมอ
หมวด ๓ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๖
ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ
มาตรา ๔๗
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๘
ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้ผู้อนุญาตและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๔ การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๔๙
เมื่อปรากฏว่าผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการ
มาตรา ๕๐
ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการ กระทำการหรือละเว้นกระทำการอย่างใด ๆ จนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนอย่างร้ายแรงแก่ผู้ที่อยู่ในสถานพยาบาลหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานพยาบาลให้ผู้อนุญาตมีอำนาจออกคำสั่งปิดสถานพยาบาลเป็นการชั่วราวจนกว่าจะได้ดำเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กำหนด
มาตรา ๕๑
ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการขาดคุณสมบัติให้ผู้อนุญาตโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจออกคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้
มาตรา ๕๒
เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองดูแลผู้ป่วยในสถานพยาบาล
มาตรา ๕๓
คำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๙
มาตรา ๕๔
ผู้ใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแล้วจะขอรับใบอนุญาตใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นกำหนดสองปีนับแต่วันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๕๕
คำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๙ หรือของผู้อนุญาตตามมาตรา ๕๐ หรือมาตรา ๕๑ ผู้ที่ได้รับคำสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคำสั่ง
หมวด ๕ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๕๖
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๕๗
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลจะสั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใช้ในการประกอบกิจการสถานพยาบาลด้วยก็ได้
มาตรา ๕๘
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๓๙ หรือมาตรา ๔๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๕๙
ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๔๐ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๐
ผู้รับอนุญาตผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้จัดให้มีผู้ดำเนินการตามมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ
มาตรา ๖๑
ผู้ใดมีหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบ แต่ไม่แจ้งภายในกำหนดเวลาต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๒
ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๓
ผู้ดำเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา ๓๔ (๑) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๔
ผู้ดำเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา ๓๔ (๓) หรือ (๔) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๕
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๔(๒) หรือมาตรา ๓๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๖
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๗
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๗ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๖๘
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๖๙
ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๔๔ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗๐
ผู้รับอนุญาต ผู้ดำเนินการ ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลเจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาล หรือบุคคลซึ่งอยู่ในสถานพยาบาล ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ตามมาตรา ๔๖ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
มาตรา ๗๑
ผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลในระหว่างที่สถานพยาบาลนั้นถูกสั่งปิดชั่วคราวตามมาตรา ๕๐ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และให้ปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน
มาตรา ๗๒
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการในการดำเนินการตามมาตรา ๕๒ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗๓
ผู้รับอนุญาต ผู้ดำเนินการ ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลเอกสารกรณีอื่นอันเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗๔
ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดเป็นนิติบุคคล ถ้าการกระทำความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทำของกรรมการผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๑ บททั่วไป
มาตรา ๖
ประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ได้แก่ ชื่อและอาการสำคัญ ช่องทางเข้าออก การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
มาตรา ๗
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ได่แก่ หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้ง เงื่อนไขในการดำเนินกาหรือออกคำสั่ง
มาตรา ๘
ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอำนาจประกาศ
มาตรา ๙
คณะกรรมการด้านวิชาการมีอำนาจประกาศชื่อ อาการสำคัญ และสถานที่ที่มีโรคระบาด
มาตรา ๑๐
ในกรณีที่ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง การสอบสวนโรค หรือการแจ้งหรือรายงานตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๒ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา ๑๑
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ”
มาตรา ๑๒
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๑๓
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๑๔
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๑๕
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๑๖
ประกอบด้วยประธานกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากจากการมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๑๗
ให้นำความในมาตรา ๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา ๑๘
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๙
ให้กรมควบคุมโรคเป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
หมวด ๓ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา ๒๐
ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา ๒๑
การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๒๒
ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๓
คณะทำงานประจำช่องเข้าออก
มาตรา ๒๔
ให้คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกมีอำนาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
หมวด ๔ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๒๖
ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๒๗
การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๒๘
ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๙
ให้นำความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับ
มาตรา ๓๐
ให้นำความในมาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ มาใช้บังคับ
หมวด ๕ การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
มาตรา ๓๑
ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย
มาตร ๓๒
เมื่อเจ้าพนักงานได้รับแจ้ง
มาตรา ๓๓
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตราย
หมวด ๖ การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๓๔
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๓๕
ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นเร่งด่วนเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ของโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด
มาตรา ๓๖
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อ
มาตรา ๓๗
ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติตามวิธีการ
มาตรา ๓๘
เมื่อมีเหตุอันสมควร ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่าน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มาตรา ๓๙
ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มาตรา ๔๐
เมื่อรัฐมนตรีประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักร
มาตรา ๔๑
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย
มาตรา ๔๒
ในกรณีที่พบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อ
มาตรา ๔๓
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มาตรา ๔๔
ในกรณีที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้ออกคำสั่ง
หมวด ๗ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๔๕
เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔๖
ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจำตัวสำหรับเจ้าพนักงาน
มาตรา ๔๗
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๘ ค่าทดแทน
มาตรา ๔๘
ในการดำเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๙ - ๕๗
พระราชบัญญัติยาพ.ศ. ๒๕๑๐
หมวด ๑ คณะกรรมารยา
มาตรา ๖
ให้มีคณะกรรมการเรียกว่า "คณะกรรมการยา"
มาตรา ๗
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี
มาตรา ๘
นอกจำกกำรพ้นจำกตำแหน่งตามมาตรา ๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นตำแหน่ง
มาตรา ๙
กำรประชุมคณะกรรมการ
มาตรา ๑๐
ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คำแนะนำหรือความเห็น
มาตรา ๑๑
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่แต่งตั้งอนุกรรมการ
หมวด ๒ การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๒
ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขำย หรือนำหรือสั่งเข้ามำในราชอาณาจักร
มาตรา ๑๓
บทบัญญัติมาตรา๑๒ ไม่ใช้บังคับ
มาตรา ๑๔
ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำ หรือสั่งเข้ามา
มาตรา ๑๕
ประเภทของใบอนุญาตสำหรับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๖
ใบอนุญาตที่ออกตามมาตรา ๑๕
มาตรา ๑๗
ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๕ ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ของปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๑๘
ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๙
ห้ามมิให้ผู้ได้รับอนุญาต
มาตรา ๒๐
ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งอย่างน้อยสองคน
มาตรา ๒๑
ผู้รับอนุญำตขายยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๒๒
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยา
มาตรา ๒๓
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำหรับสัตว์
มาตรา ๒๔
ผู้รับอนุญาตนำหรือสั่งยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๒๕
ให้ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันปฏิบัติ
มาตรา ๒๖
ให้ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันปฏิบัติ
มาตรา ๒๗
ให้ผู้รับอนุญาตนำหรือสั่งยำแผนปัจจุบันเข้ำมำในราชอาณาจักร
มาตรา ๒๘
ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย
มาตรา ๒๙
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตของตนและของเภสัชกร
มาตรา ๓๐
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตย้ายสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา สถานที่นำหรือสั่งยา
มาตรา ๓๑
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันในสถานที่ผลิตยาในระหว่างที่เภสัชกรไม่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ดังกล่าว
มาตรา ๓๒
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตขายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
มาตรา ๓๓
เมื่อผู้รับอนุญาตประสงค์จะเปลี่ยนผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ
มาตรา ๓๔
มาตรา ๓๕
ถ้ายกเลิกต้องแจ้งเป็นหนังสือ
มาตรา ๓๖
ผู้รับอนุญาตซึ่งได้แจ้งการเลิกกิจการจะขายยาของตนที่เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาตอื่น
มาตรา ๓๗
ถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลผู้ซึ่งมีคุณสมบัติอาจเป็นผู้รับอนุญาตได้
หมวด ๔
มาตรา ๓๘
ประจำอยู่ ณ สถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เปิดทำการ
มาตรา ๓๙
ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งตามมาตรา ๒๑ ประจำอยู่ ณ สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันตลอดเวลาที่เปิดทำการ
มาตรา ๔๐
ให้เภสัชกรชั้นสองปฏิบัติตามมตรา ๒๙
มาตรา ๔๑
ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งและสองประจำอยู่ ณ สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
มาตรา ๔๒
ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งหรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ตามมาตรา ๒๓ ประจำอยู่ ณ สถานที่ขายยำแผนปัจจุบัน
มาตรา ๔๓
ให้เภสัชกรชั้นสองหรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นสองตามมาตรา ๒๓ ปฏิบัติตามมาตตรา ๔๒
มาตรา ๔๔
มาตรา ๔๕
หมวด ๕ การขออนุญาตและออกใบอนุญาต
เกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา ๔๖
มาตรา ๔๗
มาตรา ๔๘
มาตรา ๔๙
มาตรา ๕๐
มาตรา ๕๑
มาตรา ๕๒
หมวด ๖ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
เกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา ๕๓
มาตรา ๕๔
มาตรา ๕๕
มาตรา ๕๖
มาตรา ๕๗
มาตรา ๕๘
มาตรา ๕๘
มาตรา ๖๐
มาตรา ๖๑
มาตรา ๖๒
มาตรา ๖๓
มาตรา ๖๔
มาตรา ๖๕
มาตรา ๖๖
มาตรา ๖๗
หมวด ๗
หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
มาตรา ๖๘
มาตรา ๖๙
มาตรา ๗๐
มาตรา ๗๑
มาตรา ๗๒
มาตรา ๗๓
มาตรา ๗๔
มาตรา ๗๕
หมวด ๘
ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภำพ
มาตรา
๗๒ - ๗๕
หมวด ๙
การประกาศเกี่ยวกับยา
มาตรา
๗๖ - ๗๘
หมวด ๑๐ การขึ้นทะเบียนตำรับยา
มาตรา
๗๘ - ๘๗
หมวด ๑๑ การโฆษณา
มาตรา
๘๘ - ๙๐
หมวด ๑๒ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา
๙๑ - ๙๔
หมวด ๑๓
การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา
๙๕ - ๑๐๐
หมวด ๑๔ บทกำหนดโทษ
มาตรา
๑๐๑ - ๑๒๖
พระราชบัญญัติ
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
พ.ศ. ๒๕๕๙
กฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์
ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๑ - ๗
การให้ความหมายของคำต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติ
หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์
ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๘ - ๑๓
“คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
จิตและประสาท”
หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต
เกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๑๔ - ๒๖
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๒๗ - ๓๗
หมวด ๔ หน้าที่ของเภสัชกร
มาตรา ๔๘ - ๕๖
หมวด ๕ วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต
ขาย นำเข้าหรือส่งออก
มาตรา ๕๗ - ๖๑
หมวด ๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
มาตรา ๖๒ - ๖๙
หมวด ๗ การโฆษณา
มาตรา ๗๐ - ๗๓
หมวด ๘ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๗๔ - ๗๘
หมวด ๙ การพักใช้ใบอนุญาต
และการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๗๙ - ๘๔
หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ
มาตรา ๘๕ - ๙๙
หมวด ๑๑ การค้าระหว่างประเทศ
มาตรา ๑๐๐ - ๑๑๔
หมวด ๑๒ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๑๑๕ - ๑๖๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง
พ.ศ. ๒๕๕๘
กฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอาง
มาตรา ๑ - ๖
การให้ความหมายของคำต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติ
หมวด ๑ คณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา ๗ - ๑๓
“คณะกรรมการเครื่องสำอาง”
หมวด ๒ การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา ๑๔ - ๒๑
หมวด ๓ ฉลากเครื่องสำอาง
มาตรา ๒๒ - ๒๔
หมวด ๔ การควบคุมเครื่องสำอาง
มาตรา ๒๕ - ๓๕
หมวด ๕ การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา ๓๖ - ๔๐
หมวด ๖ การโฆษณา
มาตรา ๔๑ - ๔๖
หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๗ - ๕๕
หมวด ๘ การอุทธรณ์
มาตรา ๕๖ - ๕๙
หมวด ๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๖๐ - ๙๐
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
พ.ศ. ๒๕๒๒
กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
หมวด ๑ - ๘
การให้ความหมายของคำต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติ
หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๙ - ๒๐
“คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค”
หมวด ๒ การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๒๑
ส่วนที่ ๑ การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการโฆษณา
มาตรา ๒๒ - ๒๙
ส่วนที่ ๒ การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านฉลาก
มาตรา ๓๐ - ๓๕
ส่วนที่ ๓ การคุ้มครองผู้บริโภคโดยประการอื่น
มาตรา ๓๖ - ๔๒
หมวด ๓ การอุทธรณ์
มาตรา ๔๓ - ๔๔
หมวด ๔ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๕ - ๖๒
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
พ.ศ. ๒๕๕๑
กฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิต
มาตรา ๑ - ๔
การให้ความหมายของคำต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติ
หมวด ๑ คณะกรรมการ
ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
มาตรา ๕ - ๑๑
ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
มาตรา ๑๒ - ๑๔
หมวด ๒ สิทธิผู้ป่วย
มาตรา ๑๕ - ๒๐
หมวด ๓ การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ ๑ ผู้ป่วย
มาตรา ๒๑ - ๓๔
ส่วนที่ ๒ ผู้ป่วยคดี
มาตรา ๓๕ - ๓๙
ส่วนที่ ๓ การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา ๔๐ - ๔๑
หมวด ๔ การอุทธรณ์
มาตรา ๔๒ - ๔๕
หมวด ๕ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๖ - ๔๙
หมวด ๖ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๕๐ - ๕๓