Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 4 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528
หมวด 1 สภาการพยาบาล
มาตรา ๖
ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๗
สภาการพยาบาลมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
ควบคุมความประพฤติห้ถูกต้องตามจริยธรรม
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัย และความก้าวหน้าในวิชาชีพ
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติ
ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่น
ให้คาปรึกษา หรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพ
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการ
มาตรา ๘
(๒) สภาการพยาบาลมีอานาจหน้าที่
เกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพและหลักสูตรการศึกษา การอบรม วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๙
สภาการพยาบาลอาจมีรายได้ดังต่อไปนี้ เช่น เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบารุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ เป็นต้น
มาตรา ๑๐
ให้รัฐมนตรีดารงตาแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการพยาบาลและมีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 2 สมาชิก
มาตรา ๑๑
สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิกสองประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญมีดังต่อไปนี้
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาล
เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง หรือรับเลือกเป็นกรรมการ
ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพและปฎิบัติตนตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๓
สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญสิ้นสุดลง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑ (๑)
หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔(๑)
ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๕
(๑) คณะกรรมการอาจแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษาได้
มาตรา ๑๖
(๒) ดำรงตาแหน่งนายกสภาการพยาบาลอุปนายก
สภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง ตำแหน่งละหนึ่งคน
มาตรา ๑๗
เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๘
กรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษาต้องมีคุณสมบัติ เช่น ป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต เป็นต้น
มาตรา ๑๙
ให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี อาจได้รับแต่งตั้งหรือรับเลือกตั้งใหม่ได้แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๒๐
กากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ
มาตรา ๒๑
ในกรณีตาแหน่งกรรมการซึ่งได้รับเลือกตั้งว่างลงไม่เกินกึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการ
มาตรา ๒๒
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ เช่น บริหารกิจการสภาการพยาบาลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดตามมาตรา ๗ เป็นต้น
มาตรา ๒๓
เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่
หมวด 4 การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๒๕
สภานายกพิเศษ
มาตรา ๒๖
มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเรื่องต่อไปนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน
หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๒๗
ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลกระทำการพยาบาล
มาตรา ๒๘
(๓) การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๒๙
การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต
มาตรา ๓๐
ผู้มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรา ๒๙ ต้องมีความรู้
มาตรา ๓๑
ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกสามัญ และ
มีคุณสมบัติอื่นตามที่กำหนดไว้
มาตรา ๓๒
ต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มาตรา ๓๓
การกรพทำความผิด
มาตรา ๓๔
มาตรา ๓๕
มาตรา ๓๖
มาตรา ๓๗
มาตรา ๓๘
มาตรา ๓๙
มาตรา ๔๐
มาตรา ๔๑
มาตรา ๔๒
มาตรา ๔๓
มาตรา ๔๔
มาตรา ๔๕
หมวด 6 บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๖
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๔๗
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๑ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๔๘
ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคา หรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆ ตามที่เรียกหรือแจ้งให้ส่งตามมาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๔๘
ทวิ(๑) ผู้ใดไม่อานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามความในมาตรา ๔๕ เบญจ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ.2550
หมวด ๑ บททั่วไป
ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี้
“การเจ็บป่วยฉุกเฉิน”
หมายความว่า การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือและการดูแลรักษาทันที
“การเจ็บป่วยวิกฤต”
หมายความว่า การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
หมวด ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ ๑ การพยาบาล
ข้อ ๕
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นสองให้กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาล
ข้อ ๖
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง จะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาลหรือ
เมื่อเป็นการปฐมพยาบาล
ข้อ ๗
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่งจะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาลหรือ
เมื่อเป็นการปฐมพยาบาล
ห้ามมิให้ยา หรือสารละลายทางช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือช่องไขสันหลัง
ห้ามมิให้ยาหรือสารละลายทางหลอดเลือดดำพาะที่สภาการพยาบาล
ประกาศกำหนด
ส่วนที่ ๒ การทำหัตถการ
ข้อ ๘
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่งโดยการทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด ดังนี้
การทำแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผล การตัดไหม การผ่าฝี
ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย การถอดเล็บ และการจี้หูดหรือจี้ตาปลา
การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญ
ของร่างกายออก โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
การล้างตา
ข้อ ๙
ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนดและได้รับใบรับรอง
การใส่และถอดห่วง (IUD)
การฝังและถอดยาคุมกำเนิด (Nor Plant)
การผ่าตัดตาปลา
การเลาะก้อนใต้ผิวหนัง บริเวณที่ไม่เป็นอันตราย
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA
การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น (Cryotherapy)
ส่วนที่ ๓ การรักษาโรคเบื้องต้น
ข้อ ๑๐
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง(การรักษาโรค
เบื้องต้น) ตามประกาศของสภาการพยาบาล
ข้อ ๑๑
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่งการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรคได้ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ข้อ ๑๒
ตามข้อ ๑๐ และข้อ ๑๑ ต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนดในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรคของสภาการพยาบาลโดยเคร่งครัด
หมวด ๓ การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ข้อ ๑๖
ชั้นสองจะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุ
ข้อ ๑๗
จะทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ
ข้อ ๑๘
ชั้นหนึ่ง จะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาล หรือเมื่อเป็นการปฐมพยาบาล
ข้อ ๑๙
ะทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ
ข้อ ๒๐
จะต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตา หรือป้ายตาทารกเมื่อคลอดแล้วทันที
ข้อ ๒๑
ต้องบันทึกการรับฝากครรภ์และการทำคลอดทุกรายและต้องรักษาสมุดนั้นไว้เป็นหลักฐาน
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๑
. “ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการ
ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๒.
ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓.
ชั้นหนึ่งที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตาที่สภาการพยาบาลให้การรับรองและได้ขึ้นทะเบียนเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติทางตาให้กระทำการพยาบาล การคัดกรองผู้ป่วยการเจ็บป่วยทางตาฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วยวิกฤต และการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็น
ข้อ ๔.
กระทำการพยาบาลโดยการกระทำหัตถการ ดังนี้
Remove conjunctival or corneal foreign body
การวัดค่าสายตาผิดปกติ (Refraction)
การขูดหาเชื้อจากแผลกระจกตา
การวัดกำลังเลนส์แก้วตาเทียม
การล้างท่อน้ำตา
การเจาะตากุ้งยิง
ข้อ ๕
กระทำการรักษาโรคเบื้องต้น ดังนี้
ตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษาโรคทางตาตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาลโดยเคร่งครัด
การตรวจประเมินสภาพผู้ป่วยและสายตาโดยการซักประวัติ ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคตา
ข้อ ๖
ส่งต่อผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษา
ข้อ ๗
กรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้ยา ให้ใช้ยาได้ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
ข้อ ๘
เขียนบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ อาการและการเจ็บป่วย โรคและการให้การรักษาโรค หรือการให้บริการตามความเป็นจริง และต้องเก็บบันทึกรายงานไว้เป็นหลักฐาน
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๑
ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒”
ข้อ ๒
ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓
การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต้องมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
การตรวจวิเคราะห์หรือการวินิจฉัยโรค
การวางแผนบาบัดหรือรักษาโรค
การประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล
การบริจาคโลหิต
ข้อ ๔
การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดต้องเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาล
ข้อ ๕
การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากเส้นเลือดฝอยปลายนิ้ว
หรือจากหลอดเลือดดาส่วนปลาย
ข้อ ๖
การเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดาส่วนกลาง
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ ๑
ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
ข้อ ๒
ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
หมวด ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ส่วนที่ ๑
การปฏิบัติต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ
ข้อ ๗
ไม่เรียกร้อง สินจ้างรางวัลพิเศษ
ข้อ ๘
ต้องไม่จูงใจ์เพื่อผลประโยชน์ของตน
ข้อ ๙
ไม่เรียกร้องขอรับผลประโยชน์
ข้อ ๑๐
ต้องปฏิบัติต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการโดยสุภาพและปราศจาก
การบังคับขู่เข็ญ
ข้อ ๑๑
ต้องไม่หลอกลวงผู้ป่วย
ข้อ ๑๒
ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยและ
ความสิ้นเปลือง
ข้อ ๑๓
ต้องไม่สั่งใช้หรือสนับสนุนการใช้ยาตำราลับ
ข้อ ๑๔
ต้องไม่ออกใบรับรองอันเป็นเท็จโดยเจตนา
ข้อ ๑๕
ต้องไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วย
ข้อ ๑๖
ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือ
ข้อ ๑๗
ต้องไม่ประกอบการในทางสาธารณะ หรือสถานที่สาธารณะเว้นแต่ในเหตุฉุกเฉินในการปฐมพยาบาล
ข้อ ๑๘
ต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนโดยผิดกฎหมาย
ส่วนที่ ๒
การปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพ
ข้อ ๑๙
พึงยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน
ข้อ ๒๐
ต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่นแกล้งกัน
ข้อ ๒๑
ต้องไม่ชักจูงผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการผู้อื่นมาเป็นของตน
ส่วนที่ ๓
การปฏิบัติต่อผู้ร่วมงาน
ข้อ ๒๒
พึงยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรีของผู้ร่วมงาน
ข้อ ๒๓
ต้องไม่ทับถมให้ร้าย หรือกลั่นแกล้งผู้ร่วมงาน
ข้อ ๒๔
พึงส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพของผู้ร่วมงาน
ส่วนที่ ๔
การศึกษาวิจัยและการทดลองต่อมนุษย์
ข้อ ๒๕
ผู้ทำการทดลองต่อมนุษย์ ต้องได้รับความยินยอม
ข้อ ๒๖
ปฏิบัติต่อผู้ถูกทดลองเช่นเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ป่วย
ข้อ ๒๗
ต้องรับผิดชอบต่ออันตราย
ข้อ ๒๘
ทำการวิจัยได้เฉพาะเมื่อโครงการศึกษาวิจัย
ข้อ ๒๙
ต้องปฏิบัติตามแนวทางจริยธรรมของการศึกษาวิจัย
หมวด ๑ บททั่วไป
ข้อ ๓
“ผู้ประกอบวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อ ๔
ย่อมดำรงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรม และเคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง
ข้อ ๕
ย่อมประกอบวิชาชีพด้วยเจตนาดี
ข้อ ๖
ย่อมไม่ประพฤติหรือกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสีย
เกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
หมวด ๓ การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อ ๓๐
ต้องไม่โฆษณา ใช้ จ้าง
ข้อ ๓๑
การโฆษณาตามข้อ ๓๐
ข้อ ๓๒
อาจแสดงข้อความเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
ข้อ ๓๓
อาจแจ้งความการประกอบวิชาชีพ
ข้อ ๓๔
ผู้ทำการเผยแพร่หรือตอบปัญหาทางสื่อมวลชน ต้องไม่แจ้งสถานที่ทำการประกอบวิชาชีพส่วนตัว
ข้อ ๓๕
ต้องระมัดระวังตามวิสัยที่พึงมีแพร่ออกไปในสื่อมวลชนเป็นทำนองโฆษณาความรู้ ความสามารถ