Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU,…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
. การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator; NPPV
เหมาะสำหรับ
ผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรัง สำหรับใช้ที่บ้าน หรือใช้ในเวลากลางคืนและใช้ในรายที่ถอดท่อช่วยหายใจ
แลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น แก้ไขภาวะกรดจากการหายใจ
ไม่เหมาะสำหรับ
ผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดที่รุนแรง
ผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจ
Invasive positive ventilator; NPPV
ใช้มากที่สุดในภาวะวิกฤต
การแบ่งประเภท
Control mandatory ventilation (CMV) หรือ Assist/control (A/C) ventilation
การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด
ผู้ป่วยได้รับยานอนหลับและ/หรือร่วมกับยาหย่อน
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
เป็นการเตรียมหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
ผู้ป่วยเริ่มการหายใจเอง
แบ่งเป็น
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Pressure support ventilator (PSV)
เครื่องจะช่วยจ่ายก๊าซเพื่อให้ได้ระดับความดันตามที่ตั้งไว้ และจะหยุดจ่ายอากาศเมื่อผู้ป่วยไม่ต้องการแล้ว
ภาวะแทรกซ้อน
Atelectasis
Pulmonary barotrauma
Ventilator Associated Pneumonia; VAP
Pulmonary volutrauma
Oxygen toxicity
หัวใจและไหลเวียนเลือด
Artificial airway complication
ระบบทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ข้อบ่งชี้การใช้
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดูแลด้านจิตใจ
ดูแลอย่างใกล้ชิด ประคับประคองด้านจิตใจ
ดูแลด้านร่างกาย
ให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system
ป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
ดูดเสมหะเมื่อพบว่ามีปริมาณเสมหะมาก
ในผู้ใหญ่ใช้แรงสุญญากาศ 80-120 มิลลิเมตรปรอท
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
ใช้ Self-inflating bag (Ambu bag)
ดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
ควรอยู่ระหว่าง 20-25 มิลลิเมตรปรอท
ถ้าใส่แรงดันสูงมีโอกาสเกิดเนื้อตายของเนื้อเยื่อหลอดลม
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน รายงานแพทย์ทันทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
เครื่องช่วยหายใจ (Mechanical ventilator)
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจเองได้ หรือหายใจไม่เพียงพอ
การพยาบาลผู้ป่วยการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความหมาย
การลดการช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจจนสามารถหายใจเองและหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจในที่สุด
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาล
ควรเริ่มหย่าตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็ม
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
อธิบายวิธีการหย่า
ปฏิบัติตามขั้นตอนของแต่ละ
โรงพยาบาลและตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
Oxygen saturation ก่อน ทุก 5-10 นาที
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง
หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6 ลิตร/นาท
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece
หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
วิธี1
ให้ผู้ป่วยหายใจผ่าน T piece ที่ต่อกับ collugated tube
เริ่มให้ออกซิเจน 10 ลิตรต่อนาที ใช้เวลาประมาณ½-2 ชั่วโมง
หากผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี้ในการใช้เครื่องช่วยหายใจและไม่มีความจำเป็นในการใช้ท่อช่วยหายใจก็สามารถถอดท่อช่วยหายใจได้
วิธี 2
หายใจเองโดยเริ่มจาก 15-30 นาทีแล้วต่อเครื่องช่วยหายใจได้พักอย่างน้อย 1 ชั่วโมงทำเช่นนี้อย่างน้อย 2รอบ/วัน
เพิ่มเวลาให้ผู้ป่วยหายใจเองนานขึ้นในแต่ละรอบ จนกระทั่งหายใจเองนาน
1- 2 ชั่วโมงก็พิจารณาถอดท่อช่วยหายใจ
กรณีที่ไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้ให้ผู้ป่วยได้พัก 24 ชั่วโมงและเริ่มทำการหย่าอีกครั้งในวันถัดมา
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode SIMV,PSV,CPAP
SIMV
กระทำโดยการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยเครื่องค่อยๆ ลด
ตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ต่ำกว่าการหายใจของผู้ป่วย
สำหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจมานานและใช้แบบ T piece ไม่ได้ผล
หลังจากที่ลดการช่วยหายใจได้น้อยกว่า 5 ครั้ง/นาที เป็นเวลา 1-2 ชั่วโมงก็พิจารณาการถอดเครื่องช่วยหายใจได้
PSV
ให้ลดระดับความดันครั้งละ 2-4 เซนติเมตรน้ำ ลดได้ทุก 1-2 ชั่วโมง
ลดจนระดับความดันน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5-7 เซนติเมตรน้ำ
ลดได้นาน 1-2 ชั่วโมงก็พิจารณาการ ถอดท่อช่วยหายใจได้
CPAP
เครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอด
ค่อยๆลดเเรงดันจากเครื่อง
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต (common drugs used in ICU)
Bradyarrhythmia
Atropine
การพยาบาล
ควรระวังการให้ขนาดที่ต่ำกว่า 0.5 mg
ติดตามสัญญาณชีพ monitor EKG
anticholinergic drug ยับยั้งการทำงานของ valgus nerve ที่หัวใจ ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของ heart rate
Tachyarrhythmia
Adenosine
ยับยั้งการนำไฟฟ้าผ่าน AV node
การนำไปใช้
ใช้เป็น first line drug ในภาวะ Stable narrow complex tachycardia (reentry SVT)
ขนาดยาที่ใช้และการบริหารยา
ฉีดเร็ว ๆ ภายใน 1–3 วินาที ตามด้วย NSS bolus 20ml พร้อมกับยกแขนสูง
monitor EKG ก่อนเเละหลังให้ยา
Digoxin (Lanoxin ®)
การนำไปใช้
Heart failure
-หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ atrial fibrillation (AF), atrial flutter และ supraventricular Tachycardia (SVT)
monitor EKG ก่อนเเละหลังให้ยา
ภาวะ Pulseless Arrest
Amiodarone (Cordarone®)
การบริหารยา เจือจางใน D5W เท่านั้น
monitor EKG ทุก 15นาที3 ครั้ง
Epinephrine หรือ Adrenaline
ใช้เป็นยาตัวแรกในการทำ CPR ทั้งในภาวะ systole/PEA และ VF/pulseless VT
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine (Inopin®)
การนำไปใช้
ปานกลาง เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ เพิ่ม Cardiac out put
ขนาดสูง ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ
ที่ปัสสาวะออกน้อย เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดที่ไต เเละสมอง
ผลข้างเคียง
การรั่วของยาออกนอกหลอดเลือดทำให้เนื้อเยื่อตายได้
หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปวดศีรษะ
Dobutamine
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวแรงขึ้น และหลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว
การนำไปใช้เพิ่ม cardiac output ในผู้ป่วยหัวใจวาย หรือ cardiogenic shock
Norepinephrine (Levophed®) กลุ่ม Adrenergic agonist
หดตัวของหลอดเลือด ทำให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
การนำไปใช้ septic shock และ cardiogenic shock เเละ shock หลังจากได้รับสารน้ำเพียงพอแล้ว
ผลข้างเคียง การรั่วของยาออกนอกหลอดเลือดทำให้เนื้อเยื่อตายได้ตรวจดู IV site ทุก 1 ชั่วโมง
การบริหารยา peripheral line ไม่ควรผสมเกินกว่า 4 mg/D5W 250ml
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
การนำไปใช้ Hypertensive crisis
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ
Sodium Nitroprusside
การนำไปใช้
ใช้ในการลดความดันโลหิตในผู้ป่วย hypertensive emergency
ลด afterload ในภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต ทุก 5 นาทีหลังให้ยา และติดตามทุก 1 ชั่วโมง
ป้องกันยาในขวดน้ำเกลือทำปฏิกิริยากับแสงด้วยกระดาษ ผ้า หรือ aluminum foil
Nitroglycerin (NTG)
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดดำขยาย ช่วยลดความต้องการออกซิเจนของร่างกาย
การนำไปใช้
Acute coronary syndrome, Chest pain (angina pectoris)
ผลข้างเคียง Hypotension
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง (intra-arterial monitoring)
ข้อบ่งชี้
จำเป็นต้องการตรวจ arterial blood gas หรือส่งเลือดตรวจการบ่อย ๆ
inotropic drugs และ vasoactive drug
รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
วัดความดันโลหิตยาก เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้
การไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
การพยาบาลarterial line
ดูแลระบบของ arterial line
ใช้สารน้ำ 0.9%NSS 500 cc ผสมกับ Heparin 2,000-2,500 ยูนิต
ซึ่งใส่ความดัน (pressure bag) ขนาด 300 มม.ปรอท
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การเกิดเนื้อตาย (Skin necrosis)
Air embolization
การติดเชื้อ (infection)
ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ (Hematoma)
limb ischemia
การป้องกันการติดเชื้อ (Infection) การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการปลดสาย ข้อต่อต่าง ๆ ดูแลให้เป็นระบบปิด
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
6.ตรวจสอบข้อต่อต่าง ๆ ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน (damped waveform) และบันทึกตำแหน่งของสายยาง
5.การเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
การป้องกันการเลื่อนหลุด ควร immobilized arm
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
Levelling the transducer
จัดตำแหน่ง transducer ให้อยู่ในตำแหน่ง phlebostatic axis
Zeroing the transducer
เป็นการปรับ transducer กับความดันบรรยากาศ
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที
10.ในกรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที
Systolic BP + (2 x Diastolic BP)/3
ค่าปกติ MAP = 70-100 mmHg.
Redial artery (นิยมมากที่สุดเนื่องจากอยู่ตื้น สามารถแทงได้ง่าย)
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ข้อบ่งชี้
ภาวะน้ำเกิน
ต้องการประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะ shock
การพยาบาลผู้ป่วย
1.ความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
Levelling the transducer
Zero the transducer
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
พิจารณาถอดออกให้เร็วที่สุด
ประเมินแผลบริเวณรอบ ๆ
จุกปิด (stopcock) เพื่อให้อยู่ในระบบปิด
เปลี่ยนชุดสารน้ำควรเปลี่ยนภายใน 72 ชั่วโมง
เฝ้าระวังและดูแลระบบการให้สารน้ำต้องเป็นระบบปิดตลอดเวลา
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
CVP หมายถึง การวัดความดันของเลือดดำส่วนกลาง เพื่อประเมินระดับของปริมาณน้ำและเลือดในร่างกาย
ตำแหน่งเส้นเลือด
โดยให้ปลายสายอยู่ตำแหน่งของSuperior vena cava (SVC)
ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาตำแหน่งใส่