Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนตร์สั้นเรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนตร์สั้นเรื่อง A beautiful mind
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อผู้ป่วย จอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์(Mr.John Forbes Nash, Jr.)
เพศชาย
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย มีลูกด้วยกัน 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
เป็นลูกชายคนเดียวในครอบครัว
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่น เกือบทำร้ายลูกและภรรยา
ผู้ป่วยไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ภรรยาฟัง
ผู้ป่วยไม่มีความรู้สึก ไม่อยากมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมที่แปลกๆ
พัฒนาการตามช่วงวัย
ช่วงวัยเด็ก
ชอบเก็บตัว
ชอบอยู่คนเดียว
ไม่มีเพื่อนสนิท และมักมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
เรียนเก่ง
ไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการ แต่มีความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์และทำการทดลองด้วยตนเองตั้งแต่อายุ 12 ปี
ช่วงวัยรุ่น
ผู้ป่วยหันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์ และมุ่งมั่นในการเรียนจนจบปริญญาโท
ผู้ป่วยเริ่มมีความคิดที่แตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
ชาร์ลอยู่กับเขาตลอด และเป็นเพื่อนที่คอยอยู่เคียงข้างเขาและคอยพูดคุยด้วย
ช่วงปริญญาเอก
มีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
เริ่มมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลกๆเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยพบว่าชาร์ลและหลานสาวยังมาปรากฏตัวอยู่กับเขาในหลายสถานการณ์
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
สารเคมีในสมอง (dopamine)
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนจะคอยทำร้าย
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน(Hallucination)
หูแว่ว(Auditory Hallucination)
ได้ยินเสียงคนพูดคุยกัน
ได้ยินเสียงวิลเลี่ยมสั่งให้เขาถอดรหัสให้ได้
คิดว่ามีคนคอยทำร้ายตลอดเวลา
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย ขวาตลอดเลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การคาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท(Schyzophrenia)
เป็นกลุ่มอาการเกี่ยวกับความผิดปกติทางด้านความคิด
ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดและการรับรู้ที่แปลกไปจากความเป็นจริง
โรคจิตชนิดหวาดระแวง(Paranoid Schizophrenia)
เป็นความคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากความวิตกกังวล
เกิดจากความไร้เหตุผลและความคิดที่หลงผิด ความคิดที่ว่าตัวเองกำลังถูกตามทำร้าย
โรคจิตหลงผิด (Delusional Disorder)
ปักใจเชื่ออย่างฝังแน่นว่าตนเองกำลังถูกปองร้าย
ประเด็นที่สงสัย
ผลกระทบอะไรบ้างที่เกิดกับผู้ป่วยรายนี้
ผู้ป่วยมีปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนไปจากเดิม
สัมพันธภาพในครอบครัวของผู้ป่วยลดน้อยลง
ผู้ป่วยรายนี้ควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยคนในครอบครัว
ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากผู้ป่วยไม่ยอมรับประทานยาตามการรักษา ทำให้อาการประสาทหลอนของผู้ป่วยยังมีอาการอยู่ และอาจจะทำให้คิดทำร้ายบุคคลในครอบครัวผู้ป่วยได้
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ความคิดหลงผิด คือ เป็นความผิดปกติของทางด้านความคิด ความเชื่อ เป็นความคิดที่ไม่ตรงความเป็นจริง
อาการประสาทหลอน แตกต่างจากความหลงผิด คือ ไม่ได้มีปัญหาเกี่ยวกับด้านความคิด แต่เป็นความผิดปกติทางด้านการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
ครอบครัวจะมีส่วนช่วยในการรักษาผู้ป่วยอย่างไร
ครอบครัวสามารถพูดคุยให้กำลังผู้ป่วย ให้มีความเข้าใจในตนเองและมีความพยายามที่จะปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ผิดปกติ
ทำกิจกรรมออกกำลังกายกับผู้ป่วย
ส่งเสริมให้ญาติของผู้ป่วยมีความรู้ เจตคติที่ดีต่อการรักษา
ดูแลผู้ป่วยให้หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการ เช่น สารเสพติด แอลกอฮอล์
ครอบครัวจะต้องเข้าใจ สนับสนุนและช่วยเหลือผู้ป่วย
พ.ร.บ. กฏหมาย
หมวดที่2 สิทธิผู้ป่วย
มาตรา15
ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา การเจ็บป่วย
ได้รับความคุ้มครองจากการวิจัย
มาตราที่16
ห้ามมิให้เปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในประการที่จะทำให่เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย
มาตราที่17
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณหรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็น เพื่อป้องกันอันตราย
หมวดที่3 การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
มาตราที่31
ในระหว่างการบำบัดรักษา เมื่อแพทย์ผู้บำบัดเห็นว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาจนเกิดความผิดปกติทางจิตหาย หรือทุเลาลง ให้แพทย์จำหน่ายผู้ป่วยดังกล่าวออกจากสถานพยาบาล และรายงานผลการรักษา