Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บของเส้นประสาท - Coggle Diagram
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
การบาดเจ็บของเส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้า (facial nerve injury)
การตรวจร่างกาย
จากสังเกตสีหน้าของทารกเวลานอน เวลาร้องไห้หรือแสดงสีหน้าท่าทาง
อาการและอาหารแสดง
รูปหน้าทั้ง 2 ด้านจะไม่เท่ากันเห็นได้ชัดเจนเมื่อทารกร้องไห้
ทารกจะลืมตาไดเ้พียงครึ่งเดียว ตาปิดไม่สนิท
มีอาการอัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อใบหน้า มักเป็นด้านเดียว
ปากข้างที่เป็นจะถูกดึงลงมาทำให้มุมริมฝีปากล่างตก
ไม่มีรอยย่นที่หน้าผาก
กล้ามเนื้อด้านที่เป็นอัมพาตจะไม่เคลื่อนไหว ทำให้หน้าเบี้ยวไปข้างที่ดี
สาเหตุ
การคลอดยาก
การใช้คีมช่วยคลอดทำให้กดเยื่อประสาท สมองคู่ที่ 7 (facial nerve injury) ที่ไปเลี้ยงใบหน้า
แนวทางการรกัษา
ปกติถ้าประสาทที่เล้ียงใบหน้าเพียงถูกกดอาจหายไปได้เองภายใน 2-3 วัน ถึงสัปดาห ์
แต่ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
บทบาทการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับนมให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและเฝ้าระวังการสำลัก เนื่องจากกล้ามเนื้อใบหน้าเป็นอัมพาต
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
ล้างตา หยอดตาตามแผนการรกัษาเพื่อป้องกันไม่ให้เยื่อบุตา ตาขาว และกระจกตาของทารกแห้ง
การบาดเจบ็ของเสน้ประสาท Brachial
Erb-Duchenne paralysis
แขนข้างนั้นส่วนบนไม่ขยับ
แขนจะอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าข้างใน
บริเวณข้อมือยังขยับ
กำมือได้ตามปกติ
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาทจากกระดูกสันหลังระดับคอท่อนที่ 5-6 (c5-c6)
Klumpke’ s paralysis
แขนข้างนั้นส่วนล่างไม่ขยับ
แขนอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าข้างใน
บรเิวณข้อมือไม่ขยับ
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาทจากกระดูกสันหลังตอนคอท่อนที่ 7-8 และเส้นประสาทเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1 (c7-c8 และ T1)
กำมือไม่ได้
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาท Brachial ถูกดึงหรือกด
พบในทารกที่คลอดโดยมีส่วนนำ เป็นก้นหรือคลอดยาก บริเวณแขนหรือไหล่จากการที่ดึงไหล่ออกไปจากศีรษะในระหว่างการคลอด
การตรวจร่างกาย
Erb Duchen Paralysis
การเคลื่อนไหวและการงอของแขนลดลง
การตอบสนองต่อการกำมือ (grasp reflex) ปกติ
ทดสอบ moro reflex พบว่าแขนข้างที่เป็นยกข้ึนไม่ได้ หรือยกได้น้อย
Klumpke’ s paralysis
ทดสอบ moro reflex ไหล่และแขนส่วนบนเหยียดกางออกเป็นปกติแต่ข้อมือ นิ้วมือตกไม่มีแรง
การตอบสนองต่อการกำมือ (grasp reflex) ผิดปกติ
การรักษา
ให้แขนไม่เคลื่อนไหวในท่ากางหมุนแขนออกข้อศอก ตั้งฉากกับลำตัว
ทำกายภาพบำบัด
ถ้าไม่หายอาจต้องทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
การพยาบาล
ทำความสะอาดร่างกายด้วยความนุ่มนวล ถอดเสื้อจากแขนด้านดียวก่อนและสวมเสื้อด้านที่เจ็บก่อน
ตอบสนองความต้องการทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ควรเพิ่มความรักแตะต้องสัมผัสมากกว่าทารกปกติ
ดูแลความสุขสบายและการผ่อนคลายให้ทารกที่ต้องตรึงแขน สำรวจมือ ปลายนิ้วเพื่อดูว่าเย็นซีดหรือไม่
ช่วยให้มารดาและบิดามั่นใจในการดูแลทารก
ดูแลให้แขนที่ได้รับอันตรายได้ออกกำลัง หลังจากการรักษาพยาบาลในช่วงแรก ดีข้ึน และส่งกายภาพบำบัดโดยพยาบาลมีส่วนร่วม
ดูแลให้ส่วนที่ได้รับอันตรายไม่เคลื่อนไหว โดยจัดแขนให้อยู่ในท่าตามแผนการรักษาให้มืออยู่ในท่าหงาย ไม่อุ้มทารกลงจากเตียงบ่อย ๆ