Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury)
การบาดเจ็บที่ศีรษะทารก
(Skull injuries)
Cephalhematoma
สาเหตุ
การคลอดยาวนาน
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอด
การใช้ V/E
ภาวะแทรกซ้อน
hyperbilirubinemia
infection
อาการและอาการแสดง
เกิด 24 hrs. หลังคลอด
มีขอบเขตชัดเจน
ไม่ข้าม suture
ก้อนอาจมีสีผิดปกติ คือ สีดำหรือน้ำเงินคล้ำ
ทารกอาจซีดจากการเสียเลือด
การรักษา
หายไปเองใน 2 เดือน
phototherapy ในรายตัวเหลือง
ถ้าก้อนใหญ่-->ดูดเลือดออก
การพยาบาล
สังเกตขนาด ลักษณะ การเปลี่ยนแปลงของก้อน
ให้ทารกนอนตะแคงตรงข้ามกับก้อนเลือด
obs. ซีด เจาะ Hct.
ตรวจ MB รายงานแพทย์
แนะนำไม่ใช้ยาทา นวด ประคบหรือเจาะก้อนเอง
Caput succedaneum
สาเหตุ
แรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะ
vacuum extraction
อาการและอาการแสดง
คลำศีรษะทารก พบก้อนบวมโน นุ่ม กดบุ๋ม
ก้อนขอบเขตไม่ชัดเจน
ขอบข้าม suture พบทันทีหลังคลอด
แนวทางการรักษา
หายไปได้เอง ประมาณ 2 -3 วันหลังคลอด
ถ้าเกิดจาก V/E จะหายได้ช้ากว่า
การพยาบาล
สังเกตขนาด ลักษณะของก้อน
obs. การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
อธิบายอาการให้มารดาและครอบครัวเข้าใจ
:star:มารดาบิดาวิตกกังวลเกี่ยวกับก้อนบวมน้ำใต้ศีรษะทารก
Subgaleal hematoma
สาเหตุ
มักพบในการคลอดโดยใช้ V/E
เลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่าง
พังผืดของกะโหลกกับเยื่อหุ้มกะโหลก
อาการและอาการแสดง
ขอบเขตหน้าไปหลัง เริ่มจากเบ้าตาไปท้ายทอย
ด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้าง
ก้อนมีลักษณะน่วม และข้ามแนวประสานกระดูก
ก้อนมีขนาดเพิ่มขึ้นช้าๆ หรืออาจเร็ว
ทารกอาจช็อคจากกาารเสียเลือด
Intracranial hemorrhage
สาเหตุ
Preterm
Asphysia นาน
อันตรายจากการคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
หายใจลำบาก
mental retardation
การรักษา
ICD-->เจาะน้ำไขสันหลัง
ยากันชัก+vitamin K
oxygen
นำทารกเข้าตู้อบ
ให้นมและน้ำอย่างเพียงพอ
อาการและอาการแสดง
Reflex ลดน้อยลงหรือไม่มี โดยเฉพาะ moro reflex
อ่อนแรง
ซีด หรือ cyanosis
ซึม ดูดนมไม่ดี
ร้องเสียงเเหลม
หายใจเร็ว ช้า ไม่สม่ำเสมอ หยุดหายใจ
กระหม่อมโป่งตึง
ชัก
การพยาบาล
นอนราบศีรษะสูง 15 องศา ตะแคงหน้า
suction
ให้ oxygen ไม่เกิน 40% ที่มีความชื้น
obs. V/S q 2-4 hrs.
ให้ทารกพักผ่อน รบกวนน้อยที่สุด
ประคับประคองจิตใจบิดามารดา
การบาดเจ็บของกระดูก
(Bone injuries)
กระดูกต้นแขนหัก
(Fracture humurus)
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทำคลอดดึงทารกออกมา แขนเหยียด
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ (moro reflex) พบว่าทารกจะไม่งอแขน
เมื่อจับแขนขยับทารกจะร้องไห้เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
อาการและอาการแสดง
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะคลอด
แขนข้างที่หักจะมีอาการบวม
ทารกไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่หักเนื่องจากรู้สึกเจ็บ
แนวทางการรักษา
กระดูกแขนเดาะ-->ตรึงแขนให้แนบกับลำตัว
เพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
หักสมบูรณ์-->จับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา
ใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
กระดูกต้นขาหัก
(Fracture femur)
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น
การดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางเข้าเชิงกราน
ตรวจร่างกาย
moro reflex test พบว่าทารกไม่ยกขา
ทารกจะไม่เคลื่อนไหวขาข้างที่หัก
อาการและอาการแสดง
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
ขาทารกมีอาการบวม
ทารกจะร้องไห้เมื่อจับบริเวณที่หัก
การรักษา
incomplete -->ใส่เฝือกขายาว ประมาณ 3-4 สัปดาห์
complete --> ทำ traction 2-3 week
กระดูกไหปลาร้าหัก
(Fracture clavicle)
สาเหตุ
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
ทารกตัวโตหรือท่าก้นที่แขนเหยียดแล้วดึงออกมา
การตรวจร่างกาย
moro reflex แขนสองข้าง
เคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
คลำตรงบริเวณที่หักอาจ
ได้ยินเสียงกรอบแกรบ
อาการและอาการแสดง
ข้างที่หักเคลื่อนไหวน้อยหรือไม่เลย
ร้องไห้เมื่อสัมผัสบริเวณที่หัก
มี ecchymosis บริเวณที่หัก
คลำได้ก้อนนูหรือก้อนแข็ง
การรักษา
หายเองใน 1 week
พักแขนและไหล่ข้างที่หัก 10-14 วัน
การพยาบาล
ดูแลไม่ให้บริเวณที่หักมีการเคลื่อนไหว
จัดให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ดูแลความสุขสบาย ป้องกันอันตราย
ดูแลให้ได้รับอาหารและน้ำ
ดูแลการขับถ่าย และความสะอาด
ดูแลจิตใจ
บรรเทาความวิตกกังวลของบิดามารดา
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
(Nerve injuries)
facial nerve injury
สาเหตุ
การคลอดยาก
F/E แล้วไปกด nerve คู่ที่ 7
อาการและอาหารแสดง
อัมพาตชัวคราวของกล้ามเนื้อใบหน้า เป็นด้านเดียว
หน้าเบี้ยวไปด้านที่ปกติ
รูปหน้าไม่เท่ากัน
ลืมตาได้ครึ่งเดียว ตาปิดไม่สนิท
มุมปากล่างตก
ไม่มีรอยย่นที่หน้าผาก
การรักษา
หายใน 2-7 วัน
ถ้า nerve ขาดต้องทำการซ่อม
การพยาบาล
ล้างตา หยอดตา ไม่ให้ตาแห้ง
ให้นม ระวังสำลัก
ดูแลจิตใจทารก
บรรเทาความวิตกกังวลของบิดามารดา
Brachial nerve injury
สาเหตุ
ถูกดึงหรือกด
ดึงไหล่ออกจากศีรษะตอนคลอด
คลอดติดไหล่
Erb-Duchenne
paralysis
nerve C5-6
แขนข้างนั้นส่วนบนไม่ขยับ
แขนชิดหมุนเข้าด้านใน
ข้อมือขยับกำมือได้
Klumpke’ s
paralysis
nerve C7-8 และ T1
แขนส่วนล่างไม่ขยับ
แขนชิดตัวหมุนเข้าด้านใน
ข้อมือไม่ขยับ กำมือไม่ได้
การรักษา
ให้แขนไม่เคลื่อนไหวในท่า
กางหมุนแขนออก ศอกตั้งฉากกับลำตัว
ทำกายภาพบำบัด
ศัลยกรรมซ่อมประสาท
การพยาบาล
ไม่เคลื่อนไหวส่วนที่บาดเจ็บ
ทำกายภาพให้แขนได้เคลื่อนไหว
หากตรึงแขน สำรวจมือนิ้วว่าเย็นซีดหรือไม่
รักษาความสะอาด
ให้ความรัก สัมผัสทารก
ช่วยบิดามารดาดูแลทารก