Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้นเรื่อง A beautiful mind, นางสาวณัฐพร บุตรนนท์ เลขที่21 ห้องB…
ภาพยนต์สั้นเรื่อง A beautiful mind
ประวัติผู้ป่วย
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์
อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ภรรยาชื่อนางอลิเซีย (Mrs. Alicia) มีบุตรชาย 1คน
ความสัมพันธภาพในครอบครว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
มีความคิดหมกมุ่น มีพฤติกรรมเเปลกขึ้น
เกือบจะทำร้ายภรรยาเเละลูก
ผู้ป่วยไม่มีความรูสึกอยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ไม่ค่อยเปิดเผยเรื่องส่วนตัว
อาการสำคัญ1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
หวาดระแวงคิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
คิดว่ามีคนมาทำร้าย
วิ่งหนีด้วยความหวาดกลัวจากที่ทำงาน
อาการเเละอาการเเสดง
ประสาทหลอน
เห็นภาพคนจะมาทำร้าย
พูดคนเดียว
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
คิดว่ามีคนอยู่ด้วย
ควบคุมตนเองไม่ได้
เวลาไม่สมหวัง จะทำร้ายตนเอง
ทำร้ายคนรอบข้าง
มีความกดดันในตัวเอง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนตามทำร้าย
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
คิดว่าคนอื่นชอบเเกล้งตนเอง
พฤติกรรม
เดินหลังค่อม ชอบนั่งก้มหน้า
สีหน้าวิตกกังวล
นั่งกุมมือและบีบมือตัวเองเกือบตลอดเวลา
แววตาหวาดระแวง
มองซ้ายขวาเกือบตลอดเวลา
พัฒนาการตามช่วงวัย
ช่วงวัยเด็ก
เรียนเก่ง ทำอะไรด้วยตัวเอง
เป็นคนเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนสนิท มีปัญหาเกี่ยวกับการปรับตัวกับเพื่อน
สนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ตั้งเเต่อายุ12ปี
ช่วงวัยรุ่น
เก็บตัว
เรียนจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน มีความเก่งระดับอัฉริยะ
สนใจด้านคณิตศาสตร์ มุ่งมั่นในการเรียน
มีเพื่อนหนึ่งคนชื่อ ชาร์ลส์ ที่คอยให้กำลังใจตอนอยู่ในมหาวิทยาลัย
มีความคิดหมกมุ่นเเละพฤติกรรมเเปลกขึ้นเรื่อยๆ
หลังจบปริญาเอก
เริ่มสร้างห้องทำงานลับ ที่ใช้ถอดรหัสให้กับงานสายลับ
ทำงานที่วีลเลอร์แลปส์เเละคิดว่าตัวเองทำงานเป็นสายลับ
ประเด็นที่สงสัยเเละโรคที่คาดการณ์ว่าผู้ป่วยเป็น(เลือกมาเฉพาะที่สนใจ)
โรคที่คาดการณ์
โรคจิตเภท ( Schizophrenia)
ผู้ป่วยส่วยใหญ่เริ่มมีอาการช่วงวัยรุ่น เป็นเเล้วมักไม่ขาดหายเเละจะกำเริบเป็นช่วงๆ
อาการทางคลิกนิคที่เด่นคือ หวาดระเเวงอย่างคงที่ โดยปกติจะมีอาการประสาทหลอนร่วมด้วย โดยเฉพาะอาการหูเเว่ว มีความเเปร ปรวนในการรับรู้ หลงผิด พฤติกรรมผิดปกติ ความคิดผิดปกติ การเคลื่อนไหวผิดปกติ
สาเหตุ มาจากการเปลี่ยนแปลงของสารสื่อบางตัวในสมองทํา
ให้เกิดความบกพร่องของการทําหน้าที่ของอารมณ์และจิตใจ หรือเกิดพยาธิสภาพที่สมอง สมองทำงานมากเกินไป จิตสังคมคือมีความสัมพันธ์ไม่ดีกับคนรอบข้าง
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
คือ การมีความเชื่อ หรือความคิดไม่ตรงกับความเป็นจริง อาการหลงผิดจะมีตั้งแต่ 1 เรื่องนานตั้งแต่ 1 เดือนขึ้น พบอาการบ่อยที่สุดคือ ระแวงว่าตนถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกปองร้าย ผูกเรื่องเชื่อมโยงไปในแนวทางเดียวกัน ส่วนใหญ่ไม่มีอาการประสาทหลอน
ประเภทของโรคจิตหลงผิด
หลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักตัวเอง โดยบุคคลนั้นมักเป็นผู้ที่มีความสำคัญหรือมีชื่อเสียง (Erotomanic Type)
ชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น (Grandiose Type)
หลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนนอกใจ (Jealous Type)
ระแวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต (Persecutory Type)
หลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง เช่น อวัยวะไม่ทำงาน คิดว่าตัวเองป่วยทางกาย (Somatic Type)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยด้านสังคม คือเกิดจากสังคมที่มีความเครียด กดดัน การแข่งขันสูง
ปัจจัยด้านชีวภาพ พบว่าสัมพันธ์กับสมองส่วนที่ควบคุมความเป็นเหตุผลและอารมณ์ความรู้สึก
ปัจจัยด้านจิตใจ คืออาจเกิดจากการเลี้ยงดูที่ไม่ได้รับความอบอุ่น ทำให้ไม่เชื่อใจใคร
ประสาทหลอน (Hallucination)
อาการที่พบบ่อย คือ เสียงเเว่ว ผู้ป่วยมักได้ยินเสียงคนเดียวพูดเป็นเรื่องราว ขณะที่ได้ยินก็รู้สึกตัวดีตลอด ได้กลิ่นเเปลกๆ ลิ้นรับรสเเปลก มองเห็นภาพหลอนเช่น เห็นเพื่อน คนในครอบครัว
คือ มีการรับรู้ทั้งที่ไม่มีสิ่งกระตุ้น เป็นได้จากการรับรู้ทั้งทางรูป รส กลิ่น เสียงเเละสัมผัส
สาเหตุ
โรคทางสุขภาพจิต (Mental Illnesses)สาเหตุที่พบบ่อย เช่น โรคจิตเภท (Schizophrenia)
โรคทางระบบประสาทและสมอง เช่น โรคพาร์กินสัน โรคอัลไซเมอร์ สมองเสื่อม
โรคสุขภาพกายอื่น ๆ เช่น มีไข้สูง ไตวายและตับล้มเหลว
การพักผ่อนไม่เพียงพอ การอดนอน
สารเสพติดและแอลกอฮอล์
อาการหลอนอาจเกิดจากการใช้ยารักษาโรคบางชนิด
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑
มาตรา ๑๕
ผู้ป่วยมีสิทธิดังนี้
1.ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการเเพทย์ โดยคำนึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2.ได้รับการปกปิดข้อมูลการเจ็บป่วยเป็นความลับเว้นเเต่กฎหมายบัญญัติไว้ให้เปิดเผยได้
3.ได้รับการคุ้มครองตามมาตรา๒๐
4.ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพเเละประกันสังคมเเละระบบอื่นๆของรัฐ อย่างเท่าเทียมกัน
มาตรา ๑๘
การรักษาจิตเวชด้วยไฟฟ้าให้กระทำได้ในกรณีที่ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษานั้นโดยผู้ป่วยทราบเหตุผล ความจำเป็น ประโยชน์ในการบำบัด
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย หากมิได้ทำการรักษาบำบัดจะส่งอันตรายถึงเเก่ชีวิตของผู้ป่วย ทั้งนี้ต้องมีความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบำบัด
มาตรา๒๑
การบำบัดรักษากระทำได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลเเละความจำเป็นในการรักษา ผู้ป่วยยินยอมเว้นเเต่เป็นผู้ป่วยตามมาตรา๒๒
ถ้าต้องการรับผู้ป่วยไว้ในสถานบำบัดในกรณีผู้ป่วยอายุไม่ถึง18ปีหรือขาดความสามารถในการตัดสินใจ ผู้ลงยินยอมคือ คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล
มาตรา ๒๒
บุคคลมีความผิดปกติทางจิตกรณีใดกรณีหนึ่งต้องได้รับการรักษา คือ มีภาวะอันตราย มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัด
มาตรา ๒๓
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติกรรมอันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษะตามมาตราที่๒๒ให้เเจ้งต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยไม่ชักช้า
การรักษา
2.รักษาด้วยยาเพื่อควบคุมอาการให้สงบลง ยาที่ใช้เช่น chlorpromazine รักษาความผิดปกติจิตใจ อารมณ์ ในผู้ป่วยที่มีอาการวุ่นวายมากขึ้นอาจให้ benzodiazepine ขนาดสงูร่วมไปด้วย
3.รักษาด้วยไฟฟ้า(electroconvulsive therapy) ใช้ในกรณีผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาา โดยใช้ECT ร่วมไปด้วย เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าผ่านบริเวณศีรษะของผู้ป่วยในปริมาณน้อยๆ เพื่อทำให้เกิดการชักเหมือนกับในโรคลมชักการรักษาจะทำวันเว้นวัน จนครบประมาณ 10-12 ครั้ง
1.รับผู้ป่วยรักษาไว้ที่โรงพยาบาล กรณีมีพฤติกรรมเป็นอันตรายต่อผู้อื่น เพื่อควบคุมเรื่องยาในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ยอมรับประทานยา
4.รักษาด้วยจิตสังคม
2) การให้คำแนะนำแก่ค่รอบครัว (family counseling or psychoeducation) ให้ความรู้เรื่องโรค รวมทั้งสิ่งที่ญาติควรปฎิบัติโดยไม่กดดันผู้ป่วยมากเกินไป
3) กลุ่มบำบัด (group therapy)เป็นการจัดกิจกรรมระหว่าผู้ป่วยด้วยกัน ส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกว่ามีเพื่อน มีคนเข้าใจ ฝึกทักษะทางสังคม เน้นการให้กำลังใจกัน
1) จิตบำบัด (psychotherapy)ชนิดประคับประคองผู้ดูเเลตั้งเป้าหมายตามที่เป็นจริงในู้ป่วย เเละสามารถนำไปปฎิบัติได้ เช่นช่วยผู้ป่วยหาวิธีเเก้ไขปัญหาร่วมกัน
4) นิเวศน์บำบัด (milieu therapy) เป็นการจัดสิ่งเเวดล้อมในโรงพยาบาลเพื่อช่วยส่งเสริมกระบวนการรักษา เช่นจัดกิจกรรมในหอผู้ป่วย จัดสิ่งเเวดล้อมในหอผู้ป่วยให้น่าอยู่
นางสาวณัฐพร บุตรนนท์ เลขที่21 ห้องB ชั้นปีที่2 รหัสนักศึกษา 613601129
ราชกิจจานุเบกษา.(2551).
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑.
สืบค้นจาก
https://library2.parliament.go.th/giventake/content_law/law200251-37.pdf
เครือวัลย์ ศรียารัตน์. (2558).
บทบาทพยาบาลในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวในผู้ป่วยจิตเวช.
สืบค้นจาก
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/trcnj/article/view/41621/34393
อ้างอิง
ศิริยุพา นันสุนานท์.(2544).
โรคจิตเภท
.วารสารวิจัยวิทยาศาสตร์ทางการเเพทย์ 15(2) : 139-155
มาโนช หล่อตระกูล.(2554)
.โรคจิตเภท
. สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%20%28Schizophrenia%29.pdf