Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, นางสาวพรภัสส์ษา …
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาว มีดังนี้
1.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL(acute lymphoblastic leukemia)
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
leaukemia คือมะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติขิงเซลล์ต้นกำเนิด(stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก เกิดการแบ่งตัวผิดปกติ
อาการ
ติดเชื้อง่าย
ซีด
เลือดออก
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้
1.T-cell lymphoblastic leukemia
2.B-cell lymphoblastic leukemia
2.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (acute myelogenous leukemia)
3.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (chronic lymphocytic leukemia)
4.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (chronic myelocytic leukemia)
สาเหตุ มีดังนี้
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม มีความเสี่ยงมะเร็งเม็ดเลือดขาวขนิด ALL และ AML มากกว่าเด็กปกติ
ครอบครัวที่สมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด ALL มีโอกาสสูงถึง2-4เท่าของคนปกติ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
มีประวัติได้รับรังสีไอออนไนซ์
การได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่น
การไ้รับสารเคมีที่เป็นพิษ เช่นควันบุหรี่ การสูบบุหรี่
อาการ มีดังนี้
อาการแรกที่เป็น คือ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลีย เลือดออกง่าย
เม้ดเลือดขาวมีปริมาณมากแต่แต่ไม่ได้ต่อสู้เชื้อโรค จึงทำให้ติดเชื้อง่าย
เม็ดเลือดขาวไปบังอวัยวะต่างๆหรือไปสะสมตามอวัยวะต่างๆทำให้มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ
การวินิจฉัย
เจาะเลือดหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว
เจาะกระดูกไขสันหลัง เพื่อให้ชัดเจนว่ามีการแบ่งตัวผิดปกติจริงหรือไม่
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lympnoma)
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ (Cervical lympnoma )
ชนิดของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง มีดังนี้
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma) พบต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปีไม่มีอาการเจ็บปวดมีลักษณะเฉพาะ คือจะพบ Reed-Sternberg cell
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)อาการจะเร็วและรุนแรง อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma มีลักษณะพิเศษคือ มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell( Blymphocyte) มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มัก
พบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
การวินิจฉัย มีดังนี้
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก เพื่อประเมินว่ามีการกระจายเข้าไปในไขกระดูกหรือไม่
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจกระดูก (Bone scan)
การตรวจ PET scan เป็นการ
ตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
อาการ มีดังนี้
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย คือ จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ หรือเต้านม แต่จะไม่มีอาการเจ็บ ซึ่งต่างจากการติดเชื้อที่มักจะมีอาการเจ็บที่ก้อน
อาการในระยะลุกลาม - ซีด มีเลือดออกง่าย ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้นจากการมีน้ำในช่องท้อง
แนวทางการรักษาในปัจจุบัน
การใช้ยาเคมีบ้าบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy) คือการรักษาด้วยรังสี
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
มะเร็งไต
หมายถึง ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่ และคลำได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
นิวโรบลาสโตมา
เนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
อาการ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง อาการอื่นๆได้แก่ ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูกตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดีและมีอัตราการตายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด Chemotherapy
ระยะการรักษา
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase) ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุดและมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด ระยะนี้ใช้เวลา4 – 6 สัปดาห์ ยาที่ใช้ ได้แก่ Vincristine, Adriamycin,L – Asparaginase และ Glucocorticoid
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase) ให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้ว ใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์ ยาที่ใช้ ได้แก่Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase) ให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง มีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้ง ยาที่ใช้ ได้แก่ Metrotrexate, Hydrocortisoneและ ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or continuation therapy) ให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร ยาที่นิยมใช้ คือ การให้ 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
แบ่งเป็น 2 แนวทาง คือ
– การรักษาทดแทน (Replacement therapy) ให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
– การรักษาด้วยเกร็ดเลือด จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อน ก่อนการให้ยา จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง เพราะมีเกร็ดเลือดต่ำมากจะทำให้ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตได้รวดเร็วไม่เกิน 24 ชั่วโมง
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด ที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย มีดังนี้
Cyclophosphamide รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับหรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (Cross link) ส่งผลทำให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
Mercaptopurine(6-MP) รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Methotrexate รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง DNA และRNA
Cytarabine(ARA-C) รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic leukemia (ALL)โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Mesna ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบจากยารักษามะเร็ง
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
Ceftazidime(fortum) ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Amikin ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1 36/2 รหัสนักศึกษา 612001081