Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น "A beautiful mind", นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา…
ภาพยนต์สั้น
"A beautiful mind"
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์
(Mr.John Forbes Nash,Jr)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกด้วยกัน 1 คน
ความสัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกหมุ่นเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยไม่มีความรู้สึก ไม่อยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ผู้ป่วยมีความคิดหมกหมุ่นและมีพฤติกรรมที่แปลกๆ
พัฒนาการตามช่วงวัย
ช่วงวัยเด็ก
ชอบเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ผู้ป่วยเรียนเก่ง
ไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการแต่มีความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์และทำการทดลองด้วยตนเองตั้งเเต่อายุ 12 ปี
ช่วงวัยรุ่น
สนใจคณิตศาสตร์และมุ่งมั่นในการเรียน
บุคลิกดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
ช่วงเรียนปริญญาเอก
โดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
มีความคิดหมกหมุ่นและมีพฤติกรรมที่แปลกๆเพิ่มมากขึ้น
ชาร์ลส์เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตเขา
ให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยเสมอ
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัวมีตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดเเย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความวิตกกังวล
ความสามารถในการปรับตัว
อดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
อาการและอาการแสดง
หวาดระเเวง
คิดว่าจะมีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตัวเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
กระสับกระส่าย เดินไปมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เดินหลังค่อม
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
มองซ้าย มองขวาตลอด
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
โรคกลัวสังคม
(Social anxiety disorder)
โรคที่คิดว่าน่าจะเป็น
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
ทางพันธุกรรม
ยิ่งมีความใกล้ชิดทางสายเลือดกับผู้ป่วยมากยิ่งมีโอกาสสูง
ความผิดปกติของสมอง
ด้านจิตใจ
ความเครียดในชีวิตประจำวัน
การใช้อารมณ์กับผู้ป่วย การตำหนิ
มีท่าทีที่ไม่เป็นมิตรหรือจู้จี้ยุ่งเกี่ยวกับผู้ป่วยมากไป
อาการ
เริ่มต้น
อาจเกิดในแบบเฉียบพลันทันที
อาจเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
มีอาการเริ่มต้นอย่างช้าๆ
มีอาการสับสน มีความรู้สึกแปลกๆ
ไม่อยู่ในความเป็นจริง
เปลี่ยนไปจากบุคลิกภาพเดิม
ไม่อยากสุงสิงกับใคร
ระแวงคนอื่น
แยกตัว
ลักษณะอาการ
กลุ่มอาการที่เพิ่มมากกว่าคนปกติทั่วไป
อาการหลงเชื่อผิด
คิดว่าคนอื่นจะมาทำร้าย
ระแวงว่าตนจะถูกวางยาพิษ
คิดว่าตนส่งกระแสจิตได้
ความคิดผิดปกติ
ผู้ป่วยมักพูดไม่เป็นเรื่องราว พูดไม่ต่อเนื่อง
ผู้ป่วยคิดแบบมีเหตุผลอย่างต่อเนื่องไม่ได้
ปลี่ยนเรื่องพูดโดยไม่มีเหตุผล
ประสาทหลอน
ได้ยินเสียงคนมาพูดด้วยทั้งๆ ที่ไม่มีใครพูดด้วย (หูแว่ว)
มองเห็นวิญญาณ (เห็นภาพหลอน)
มีพฤติกรรมผิดปกติ
ทำร้ายคนอื่น
อยู่ในท่าแปลกๆ ซ้ำๆ
กลุ่มอาการที่ขาดหรือบกพร่องไปจากคนปกติทั่วไป
เก็บตัว ซึม ไม่อยากพบปะผู้คน แยกตัวเอง
ไม่ดูแลตัวเอง ไม่สนใจเรื่องการแต่งกาย กลางคืนไม่นอน
พูดน้อย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ
การดูแลรักษา
การรักษาด้วยยา
เพื่อควบคุมอาการและลดการกำเริบซ้ำของโรค
การฟื้นฟูสภาพจิตใจ
ฝึกการเข้าสังคมและให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วย
การทำจิตบำบัด
ผู้เชี่ยวชาญพูดคุยกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและปัญหาของตนเองมากขึ้น
ครอบครัวบำบัด
ให้ผู้ป่วยมีเพื่อนคอยสนับสนุนให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
หลักการดูแลผู้ป่วย
เข้าใจผู้ป่วย
ผู้ป่วยไม่ได้ตั้งใจสร้างความรำคาญเดือดร้อน จึงควรให้อภัยไม่ถือโทษผู้ป่วย
กระตุ้น แต่ไม่บังคับ
ความเครียดมีส่วนทำให้โรคจิตเภทกำเริบได้ จึงไม่ควรมุ่งหวังหรือผลักดันผู้ป่วยมากเกินไป
ดูแลผู้ป่วย
ควรให้ความดูแลผู้ป่วยเรื่องการกินยาให้ครบ รวมทั้งการดูแลที่เหมาะสมต่อไป
การวินิจฉัยจิตเภท
สอบถามเกี่ยวกับอาการ ภาวะสุขภาพจิต โรคประจำตัว และประวัติสุขภาพของคนในครอบครัว รวมทั้งอาจตรวจร่างกายผู้ป่วยโดยละเอียด
ตรวจระบบประสาทและสมอง ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan) หรือตรวจเอกซเรย์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (CT Scan)
ตรวจสุขภาพจิตอย่างละเอียด
ประเมินความคิด อารมณ์ จิตใจ อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน แนวโน้มในการฆ่าตัวตาย หรือการใช้ความรุนแรงของผู้ป่วย
กฎหมาย พรบ.ที่ควรจะมีจากใน Case
มาตรา 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาทหรือการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นที่อาจเป็นผลทำให้ร่างกาย ไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวร
มาตรา 22 บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้เป็นบุคคลที่ต้องได้รับการรักษา
มีภาวะอันตราย
มีความจำเป็นต้องได้รับการรักษา
มาตรา 23 ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา 22 ให้แจ้งต่อพนังงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยไม่ชักช้า
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยารับประทาน
ยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา เลขที่ 5 ห้อง B รหัสนักศึกษา 613601113