Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยในICU,…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยในICU
1. การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เครื่องช่วยหายใจ(Mechanical ventilator)
เครื่องช่วยหายใจเป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจเองได้ หรือหายใจไม่เพียงพอ
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
2.ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
3.กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง(diaphragm fatigue)
4.ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
1.Non-invasive positive ventilator; NPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจหมายถึงเครื่องช่วยหายใจที่ให้การช่วย
หายใจผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจซึ่งสามารถช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น
2.Invasive positive ventilator; IPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ(Mode of ventilator)
Control mandatory ventilation (CMV) หรือAssist/control (A/C) ventilation
CMV เป็นวิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด โดยผู้ การหายใจเองเลย กล่าวคือ เมื่อผู้ป่วยมีอัตราการหายใจสูงกว่าอัตราการหายใจที่เครื่องตั้งไว้
2.Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV) เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการ หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
3.Spontaneous ventilation หมายถึง การหายใจที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง รวมถึงเป็น กำหนดระยะเวลาและปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
3.1 Continuous positive airway pressure (CPAP) เป็นวิธีการหายใจที่ให้แรงดันบวก(PEEP)
3.2 Pressure support ventilator (PSV) เป็นวิธีการหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ สามารถหายใจได้เอง เครื่องจะช่วยจ่ายก๊าซเพื่อให้ได้ระดับความดันตามที่ตั้งไว้ และจะหยุดจ่ายอากาศเมื่อผู้ป่วยไม่ต้องการแล้ว
ภาวะแทรกซ้อนจาการใช้เครื่องช่วยหายใจ
1.ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
2.การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป(Pulmonary volutrauma) มักพบใน ผู้ป่วยที่มีโรคปอดอยู่เดิม
3.ภาวะถุงลมปอดแตก(Pulmonary barotrauma) เป็นภาวะที่มีลมรั่วจากถุงลมเนื่องจากการใช้ เครื่องช่วยหายใจชนิดความดันบวก หรือการค้างความดันยใจออกในช่วงห้เป็นบวก(PEEP)
4.การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ Artificial airway complication
5.ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
6.การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ(Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
7.ภาวะพิษจากออกซิเจน(Oxygen toxicity)
8.ระบบทางเดินอาหาร พบได้บ่อย ได้แก่ การเกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
9.ผลต่อภาวะโภชนาการ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
ดูแลอย่าง ใกล้ชิด ประคับประคองด้านจิตใจโดยอธิบายเกี่ยวกับการเจ็บป่วย วิธีการรักษาอย่างมีเหตุผล
การดูแลด้านร่างกาย
1) ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อนรายงานแพทย์ทันทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
2) การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วยำแหน่งของท่อหลอดลมคอควรอยู่เหนือCarina ประมาณ 1 นิ้ว
3) การป้องกันไม่ให้เกิดกั้นของทางเดินหายใจารอุด โดยการดูดเสมหะ
4) การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแลTubing system
5) การป้องกันภาวะปอดแฟบ
6) การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญเช่นElectrolyte imbalance ค่าก๊าซใน หลอดเลือดแดง(ABGs)
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่1ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1)โรคหรือสาเหตุที่ผู้ป่วยต้องใส่เครื่องช่วยหายใจหายหรือทุเลาลง
2) มีการแลกเปลี่ยนก๊าซเพียงพอค่าPaO2>60 มม.ปรอท FiO2 ไม่เกิน0.4
3)ค่าPEEP น้อยกว่า5 เซนติเมตรน้ำ
4) ผู้ป่วยรู้สึกตัวและทำตามคำสั่ง
5) สัญญาณชีพปกติ อุณหภูมิ<38องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของหัวใจ<100 ครั้ง/นาที อัตราการ หายใจ< 30 ครั้ง/นาทีระดับความดันซิสโตลิก90-160 มม.ปรอท
6) ค่าSpontaneous tidal volume
7) ความสามารถในการหายใจเองของผู้ป่วย
8) ใช้ยาระงับประสาทเพียงเล็กน้อย
9) ไม่ใช้ยากระตุ้นหัวใจหรือหลอดเลือดต้องอยู่ในระดับต่ำ
10) สามารถไอได้ดี สังเกตได้จากขณะที่ดูดเสมหะ
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.ผู้ป่วยหายใจเองทางTpiece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ หายใจเองโดยเริ่มจาก 15-30 นาทีแล้วต่อเครื่องช่วยหายใจได้พักอย่างน้อย1ชั่วโมงและทำเช่นนี้อย่างน้อย2 รอบ/วัน
2.การใช้เครื่องช่วยหายใจmode SIMV,PSV,CPAP
2.1 Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV) เป็นรูปแบบการหายใจที่ นิยมมากในอดีตใช้สำหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจมานาน
2.2 Pressure support ventilation (PSV) เป็นรูปแบบการช่วยหายใจที่ได้รับความนิยมใน ปัจจุบันเป็นวิธีลดงานในการหายใจของผู้ป่ว
2.3 Continuous Positive Airway Pressure (CPAP) เป็นการหย่าเครื่องช่วยหายใจ โดย เครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอดตลอดเวลาเพื่อลดการออกแรงในการหายใจ
ขั้นตอนที่2ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
2.อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจคร่าวๆ เพื่อลดความกลัวให้ผู้ป่วยร่วมมือและให้กำลังใจผู้ป่วย
3.ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง ส่งเสริมให้อากาศผ่านเข้าออกอย่างมีประสิทธิภาพ
4.จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง หากไม่มีข้อห้ามเพื่อส่งเสริมการขยายตัวของปอด
5.Tpiece หรือวิธีปรับmode การหายใจของผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติการหย่าเครื่องช่วยหายใจของแต่ละ โรงพยาบาลและตามแผนการรักษาของแพทย์
6.Oxygen saturation ก่อน ขณะการหย่า เครื่องช่วยหายใจ 5ทุก-10 นาที
7.เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก15นาทีถึง1 ชั่วโมง
8.ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยTpiece 10 ลิตร/นาที ต่อไปได้ ให้ต่อท่อช่วย หายใจเข้ากับเครื่องช่วยหายใจsetting ก่อนหน้าที่จะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การถอดท่อช่วยหายใจ
1.แพทย์พิจารณาให้ถอดท่อช่วยหายใจได้(extubation)
2.สามารถหายใจผ่านT piece 10ลิตร/นาที เกิน2 ชั่วโมง
3.สามารถไอขับเสมหะออกมาได้แรงพ้นท่อช่วยหายใจ
4.รู้สึกตัวดีหรือGCS>10 คะแนน
5.ประเมินcuff leak test ผ่าน
วิธีในการถอดท่อช่วยหายใจ
1.จัดท่านั่งศีรษะสูง
2.ดูดเสมหะในปากและในท่อช่วยหายใจให้โล่ง
3.แกะพลาสเตอร์ที่ยึดท่อช่วยหายใจ
4.เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจออกให้หมดโดยใช้syringe
5.ให้ผู้ป่วยกลั้นหายใจ ค่อยๆดึงท่อช่วยหายใจออกและให้ผู้ป่วยไอขับเสมหะออกมาดูดเสมหะอีกครั้ง
6.ให้O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาทีป็นเวลา2 ชั่วโมง
7.วัดสัญญาณชีพทุก15นาที ทุก30 นาทีและทุก1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
8.เฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ขั้นตอนที่3หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
2.ให้O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็นO2cannula 3-6 ลิตร/นาที
3.วัดสัญญาณชีพทุก -1530 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่และเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
2. การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด central( line monitor)
1.การวัดความดันในหลอดเลือดแดง(intra-arterial monitoring)
เป็นวิธีการสอดใส่สายยางเข้าไปในเส้นเลือดแดง(arterial line; A-line)
และนำมาต่อกับเครื่องวัด
(manometer) เป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดงโดยตรง
ข้อบ่งชี้ในการวัดความดันโลหิตทางหลอดเลือดแดง
1.ในผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
2.ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
3.ในรายที่จำเป็นต้องการตรวจarterial blood gas หรือส่งเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการบ่อย ๆ
4.ผู้ป่วยที่ใช้inotropic drugs และ vasoactive drug
5.ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้
ตำแหน่งของเส้นเลือดที่นิยมใส่arterialcatheter ได้แก่
Redial artery
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดงarterial line
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่าAccuracy
1.1 Levelling the transducer จัดตำแหน่งtransducer ให้อยู่ในตำแหน่งphlebostatic axis คือ บริเวณ4th intercostal space ตัดกับmid anterior-posterior line
1.2 Zeroing the transducer เป็นการปรับtransducer กับความดันบรรยากาศ (ให้อยู่ในระดับ 0) เพื่อเทียบกับเครื่องmonitor ให้การวัดความดันมีความเที่ยงตรงและแม่นยำควรset zero เครื่องทุก8 ชั่วโมง
2.ดูแลระบบของarterial line ให้มีประสิทธิภาพใช้continuous flush system โดยใช้สารน้ำ 0.9% NSS 500 cc ผสมกับHeparin 2,000-2,500 ยูนิต
3.ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
3.1 การติดเชื้อ(infection)
3.2 การเกิดเนื้อตาย(Skin necrosis)
3.3 Air embolization จาก air ที่ใช้หลุดเข้าไปในระบบจากการflush
3.4 ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ(Hematoma)
3.5 การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลงlimb ischemia
4.การป้องกันการติดเชื้อInfection
4.1 ใช้sterile technique ในทุกขั้นตอนของการเตรียมและการวัด
4.2 หลีกเลี่ยงการปลดสาย ข้อต่อต่างๆ ดูแลให้เป็นระบบปิด
4.3 ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อตรงตำแหน่งสายหลอดเลือดแดง
4.4 ทำแผลทุก 7 วัน กรณีใช้transparent dressing
4.5 เปลี่ยนชุดของtransducer และชุดการให้สารน้ำทุก 3 วัน
5.เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทางarterialline ต้องflush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศ ค้างในสาย
6.ตรวจสอบข้อต่อต่างๆ ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอป้งกันการหัก งอ ของสายarterial line
7.การป้องกันการเลื่อนหลุดimmobilizedควร arm โดยใช้arm broad ที่เหมาะสมบริเวณinsert
site ต้องสามารถมองเห็นได้ตลอดเวลา
8.ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตันdamped( waveform) และบันทึกตำแหน่งของสายยาง หากพบควร ดูดลิ่มเลือดหรือฟองอากาศออกและรายงานแพทย์
9.จดบันทึกค่าArterial blood pressure ที่ได้ทุก15-60นาที
10.ในกรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้
2.การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลางCentral( venous pressures; CVP)
ข้อบ่งชี้ในการติดตามค่าCVPมีดังนี้
1.ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะshock และกรณีอื่นที่ทำให้ปริมาณเลือด และน้ำในร่างกายลดลง
2.ในผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
3.ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ตำแหน่งเส้นเลือดที่ใช้สำหรับmonitor CVP
สายสวนหลอดเลือดส่วนกลางcentral( line) คือ
สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางcentral venous catheter; CVC รวมทั้งPic line
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือดำส่วนกลาง Central( venous pressures; CVP)
1.ความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
1.1 Levelling the transducer จัดตำแหน่งtransducer ให้อยู่ในตำแหน่งphlebostatic axis คือ
ตำแหน่ง4th intercostal space ตัดกับmid anterior-posterior line
1.2 Zero the transducer
2.ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวนควรระมัดระวังสายขณะเคลื่อนย้ายและขณะทำแผล
3.ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
3.2 ประเมินแผลบริเวณรอบ ๆท
3.3 ทำความสะอาดแผลด้วย2% Chlorhexidine in 70% Alcohol และเปลี่ยนsterile transparent dressing ทุก7 วันหรือทันทีที่ผ้าปิดแผลสกปรก
3.4 สวมปิดบริเวณข้อต่อด้วยneedleless connector หรือจุกปิดstopcock
3.5 ในกรณีการเปลี่ยนชุดสารน้ำควรเปลี่ยนภายใน72ชั่วโมง
4.ป้องกันการอุดตันของสายสวนการอุดตันสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางcentral( vein
thrombosis)
5.การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย
3. ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤตcommon (drugs used in ICU)
1. ยาที่ใช้ในภาวะPulseless Arrest
1.1 Epinephrine หรือAdrenaline 1 mg/ml/ampule (1: 1,000)
การนำไปใช้
-ใช้เป็นยาตัวแรกในการทำCPR ทั้งในภาวะsystole/PEA และ VF/pulseless VT
-ใช้ในภาวะsymptomatic bradycardia ที่ไม่ตอบสนองต่อการให้atropine
-Cardiac arrest
ขนาดยาที่ใ
ช้
-Cardiac arrest เริ่ม mg1 IV และให้ซ้ำทุก-5 3นาที จนกว่าอาการจะดีขนาดยาที่ให้ทางท่อึ้น
ช่วยหายใจ endotracheal( tube) ขนาด 2-2.5 mg
-Hypotension or symptomatic bradycardia อาจผสม 1 mg ใน NSS หรือsterile water
500 ml ในขนาด 2-10 mcg/min
-ขนาดยาที่ใช้ในกรณีความดันโลหิตต่ำรุนแรงseverehypotension() ขนาด 0. 05- 1.0
mcg/kg/min
ผลข้างเคียง
tachycardia, arrhythmias, hypertension
การพยาบาล
-ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตอัตราการเต้นของหัวใจทุก 15 นาทีติดต่อกัน2 ครั้ง เมื่อเริ่มให้ยา
-ปรับเพิ่ม/ลดขนาดยา เมื่อBP< 90/60 หรือ>140/90 mmHg หรือHR>120 ครั้ง/นาที หรือตาม แผนการรักษา
การบริหารยา
IV; Undilute (1:1,000) หรือdilute ให้ได้1:10,000 ยา (1 amp: สารน้ำ 10 ml) อัตราตามแผนการรักษา
1.2Amiodarone (Cordarone®)
การนำไปใช้
-ยารักษาหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดAtrialfibrillation และ Atrial flutter
-หัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะชนิดVentricular fibrillation (VF) และ Ventricular tachycardia (VT)
การพยาบาล
-ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจและmonitorEKG ทุก15นาที3 ครั้ง หลังloading dose รายงานแพทย์เมื่อBP < 90/60 mmHg, HR < 60 BPM
ขนาดยาที่ใช้
ในกรณีทำCPR ขนาด 300 mg หรือ5 mg/kg เจือจางในD5W 20 ml. IV push หากยังมีหัวใจห้อง ล่างผิดปกติอีกให้150 mg หรือ2.5 mg/kg หลังจากนั้นให้maintenance dose 10-20 mg/kg/day ขนาด เฉลี่ย600-800 mg/24 ชั่วโมง อาจให้ได้สูงถึง1.2g/24 ชั่วโมง
การบริหารยา
Amiodarone injection 150 mg/ 3 mL เจือจางในD5W เท่านั้น
ผลข้างเคียง
-อาจทำให้เกิดvasodilatation และ hypotension ได้
-Bradycardia, hypothyroidism, hyperthyroidism, thrombophlebitis
2. ยาที่ใช้ในภาวะBradyarrhythmia
2.1 Atropine
การนำไปใช้
ใช้แก้ไขภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติและAVblock
ขนาดยาที่ใช้
0.6-1 mg ทุก3-5 นาที ขนาดสูงสุดไม่เกิน(3 mg)
การบริหารยา
Atropine 0.6 mg/ml/ampule ให้IV Bolus: Undiluted or dilute 1-10 ml ฉีด 15–30 วินาที
ผลข้างเคียง
acute myocardial infarction ischemia
การพยาบาล
-ควรระวังการให้ขนาดที่ต่ำกว่า 0.5mg อาจเกิดการตอบสนองชนิดหัวใจเต้นช้าลง
-ติดตามสัญญาณชีพmonitor EKG
-ไม่ควรให้ถ้าHR > 60 ครั้ง/นาที
-รายงานแพทย์เมื่อHR > 120 ครั้ง/นาที โดยให้monitor HR ทุก5 นาที
3. ยาที่ใช้ในภาวะTachyarrhythmia
3.1 Adenosine
การนำไปใช้
-ใช้เป็นfirst line drug ในภาวะ Stable narrow complex tachycardia (reentry SVT)
ขนาดยาที่ใช้และการบริหารยา
Adenosine 6 mg/2 ml/vial IV ขนาด 6 mg ฉีดเร็ว ภายในๆ 1–3
วินาที ตามด้วยNSS bolus 20
ml พร้อมกับยกแขนสูง(double syringe technique) ให้ยาซ้ำได้อีก 12mg
ผลข้างเคียง
อาการหน้าแดง flushing() เหนื่อยและแน่นหน้าอกอาการไม่รุนแรงและมักจะหายไป
การพยาบาล
-เป็นยาที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว(10วินาที) และหมดฤทธิ์เร็ว จึงต้องฉีดเร็วๆบริเวณupper extremities
และ flush NSS ตาม 20 ml ด้วยวิธีdouble syringe technique
-ถ้าฉีดยาช้ายาจะถูกทำลายหมดก่อนถึงหัวใจ เนื่องจากยามีhalf-life สั้นมากเพียง0.5-5 วินาที
3.2 Digoxin (Lanoxin ®)
การนำไปใช้
-Heart failure AF SVT
ขนาดยาที่ใช้
Digoxin injection 0.5 mg/ 2 mL amp (=0.25 mg/mL) ขนาดเริ่มแรก0.25 – 0.5 mg IV และให้ซ้ำได้สูงสุด1 mg/day
การบริหารยา
การให้ยาแบบIV bolus
ผลข้างเคียง
Sinus bradycardia, S-A arrest AV block, Atrial fibrillation
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพก่อนให้ยา และหลังให้ยาทุก 15 นาทีติดต่อกัน 2 ครั้ง30 ต่อไปทุก นาที ติดต่อกัน3ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมงจนครบ 6 ชั่วโมง
-monitor EKG
-รายงานแพทย์เมื่อHR < 60 ครั้ง/นาทีหรือ>100 ครั้ง/นาทีBP < 90/60 mmHg RR < 14 ครั้ง/ นาทีหรือพบArrhythmia
4. ยากระตุ้นความดันโลหิตVasopressor
4.1 Dopamine (Inopin®)
การนำไปใช้ข้อบ่งใช้ตามขนาดยา
ขนาดต่ำ
-renalblood flow ปานกลาง
-เพิ่มการบีบตัวของหัวใจCardiac out putสูงทำให้หลอดเลือดหดตัวเพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ
ขนาดยาที่ใช้และการบริหารยา
ยา 1 Amp บรรจุ 10ml มีความเข้มข้นของยา 250mg (25 mg/ml)
ผลข้างเคียง
-การรั่วของยาออกนอกหลอดเลือดทำให้เนื้อเยื่อตาย คลื่นไส้ อาเจียนหัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอกหัวใจเต้นผิดจังหวะ ปวดศีรษะ
การพยาบาล
เลือกตำแหน่งให้ยาบริเวณหลอดเลือดดำเส้นใหญ่
Infusion pump
IV site ทุก 1ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังการเกิดยารั่วออกนอกหลอดเลือด monitor ECG urine out put อาการข้างเคียง ที่อาจเกิดขึ้น ทุก-1ชั่วโมง0.5
ปรับเพิ่มหรือลดยาได้ทีละ2µd/min keep BP ≥ 90/60 และ ≤140/90 หรือตามแผนการรักษา
4.2 Dobutamine
การนำไปใช้
เพิ่มcardiac output ในผู้ป่วยหัวใจวาย cardiogenicหรือ shock
ขนาดยาที่ใช้
Dobutamine 2-20 mcg/kg/min ขนาดยามากกว่า 20mcg/kg/min ทำให้หัวใจเต้น เร็วซึ่งทำให้ภาวะหัวใจขาดเลือดแย่ลงได้
การบริหารยา
1 Vial บรรจุ20 ml มีความเข้มข้นของยา 250mg หรือ 12.5mg/ml
ผลข้างเคียง
เกิดความดันโลหิตสูงหัวใจเต้นเร็วและเต้นผิดจังหวะ
รั่วของยาออกนอกหลอดเลือดทำให้เนื้อเยื่อตาย
เจ็บแน่นหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
เหมือนกับยาDopamine
4.3 Norepinephrine (Levophed®) กลุ่มAdrenergic agonist
การนำไปใช้
รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะsepticshock และ cardiogenic shock ระดับรุนแรง หรือภาวะ shock หลังจากได้รับสารน้ำเพียงพอแล้ว
ขนาดยาที่ใช้
เริ่มต้นที่0.01-3 mcg/kg/min หากขนาดยาเกิน 1mcg/kg/min เฝ้าระวังการเกิด vasoconstriction อย่างใกล้ชิด
การบริหารยา
ยา 1 Amp บรรจุ 4ml มีความเข้มข้นของยาmg4 (1 mg/ml)
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นผิดจังหวะปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง
หายใจลำบาก ทำให้เนื้อเยื่อตายได้ตรวจดูIVsite ทุก 1 ชั่วโมง
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต monitorECG
-ตรวจดูIV site ทุก1 ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังการเกิดยารั่วอกหลอดเลือด
ยาขยายหลอดเลือด Vasodilators
5.1 Nicardipine
การนำไป
ใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะHypertensive crisis
ขนาดยาที่ใช้และการบริหารยายา
1 Amp ขนาด 2mg/2 ml หรือ10 mg/10 ml
IV bolus
IV drip
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ หน้าแดง ใจสั่น หัวใจเต้นช้าความดันโลหิตต่ำ หลอดเลือดอักเสบ
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิต
monitor ECG
5.2 Sodium Nitroprusside
การนำไปใช้
ลดความดันโลหิตในผู้ป่วยhypertensive emergency
ลด afterload ในภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
ขนาดยาที่ใช้และการบริหารยา
การเตรียมยาผสม50 mg ใน D5W 250 ml เริ่มให้0.1 mcg/kg/min ปรับยาขึ้นครั้งละ10mcg/min ค่อยๆเพิ่มขนาดยา
ผลข้างเคียง
ลดความดันโลหิตเร็วเกินไป อาจทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนปวดศีรษะเหงื่อกมาก พิษจาก cyanide
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตนาทีหลังให้ยาทุก5 และติดตามทุก1ชั่วโมง ขวดน้ำเกลือทำปฏิกิริยากับแสงด้วยกระดาษ ผ้า หรือaluminum foil
5.3 Nitroglycerin (NTG)
การนำไปใช้
- Acute coronary syndrome, Chest pain (angina pectoris)
Heart failure โดยช่วยในการลดpreload
ขนาดยาที่ใช้
ขนาด- 105 mcg/min เพิ่มทีละ 5-10 mcg/min ทุก -510 นาที ขนาดยา 30-40 mcg/min ทำ ให้เกิดVasodilatation ขนาดยาที่มากกว่า0 15mcg/min ทำให้เกิดarteriolar dilation
การบริหารยา
NTG 1 vial มี 10ml บรรจุยา 50mg เจือจางใน 5%D/W หรือ 0.9%NSS โดยผสม Nitroglycerin 500-1000 มก. ใน D5W หรือNSS 250 ml
ผลข้างเคียง
Hypotension, Tachycardia, Flushing, headache
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตยามีผลทำให้ความดันโลหิตต่ำ monitor EKG ยาทำให้เกิดหัวใจเต้นเร็ว(Tachycardia)
นางสาวสุทธิตา ติ๊บปะละวงศ์ 6001210996
เลขที่ 43 Sec.B