Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A beautiful mind - Coggle Diagram
A beautiful mind
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยรุ่น
เริ่มสนใจในคณิตศาสตร์
จบ ป.โท ด้านคณิตศาตร์ ตั้งแต่อายุ 20 ปี
เริ่มมีบุคลิกต่างจากคนอื่นอย่างเห็นได้ชัด
ยังชอบเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
วัยผู้ใหญ่
เริ่มเรียนต่อ ป.เอก
การเรียนโดดเด่นเข้าขั้นอัจฉริยะ
เริ่มคิดว่าตนเองสำคัญต่อประเทศ
พบว่าตนเองมีเพื่อนร่วมห้อง ชื่อนายชาร์ลส์ (Mr. Charles) จากนัั้นทั้งคู่ก็เริ่มสนิทกัน
ผู้ป่วยเริ่มมีความคิดหมกหมุ่นและพฤติกรรมแปลกขึ้นเรื่อยๆ
หลังจบปริญญาเอกทำงานที่วีลเลอร์แลปส์และงานสายลับ
วัยเด็ก
เป็นเด็กเรียนเก่ง
ชอบเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนและมีปัญหาในการเข้าสังคม
ไม่ชอบนันทนาการ
สนใจในวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ชอบทดลองสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash : Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว และไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ใครฟัง
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมหมกหมุ่น
ไม่มีความรู้สึกอยากมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
ไม่ค่อยเล่าเรื่องการทำงานให้ใครฟัง
ประวัติครอบครัว
มีน้องสาว 1 คน
ภรรยาชื่อ นาง อลิเซีย (Mrs. Alicia) และมีลูกชายด้วยกัน 1 คน
ประเด็นที่สงสัย
การรรับการรักษาควรรับการรักษาที่บ้านหรือโรงพยาบาล
เหตุใดผู้ป่วยจึงหยุดทานยา
การเลี้ยงดูในวัยเด็กเป็นอย่างไร
พัฒนาการของผู้ป่วยในวัยต่างๆส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง
ผลกระทบอะไรบ้างที่เกิดกับผู้ป่วย
เหตุใดผู้ป่วยจึงคิดว่าผู้อื่นไม่ชอบตนเอง
การรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนี้คือการรักษาอย่างไร
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
เหตุใดผู้ป่วยจึงคิดว่าตนเองมีความสำคัญในการทำงานราชการลับ
ครอบครัวมีผลต่อการรักษาของผู้ป่วยรายนี้อย่างไร
แรงจูงใจใดที่ทำให้ผู้ป่วยพยายามกลับมารักษาตัวอีกครั้ง
ผลข้างเคียงจากการรักษาที่เกิดกับผู้ป่วยมีอะไรบ้าง
วิธีใดบ้างที่สามารถทำให้ผู้ป่วยมองความจริงแยกกับภาพหลอนได้
การรักษา
ยา
ยารับประทาน
ยาฉีด (อินซูลิน)
การรักษาด้วยไฟฟ้า
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
กลัวว่าจะมีคนมาทำร้าย
กลัวผู้อื่นล่วงรู้ความลับ
การเข้าสังคม
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่สามารถปรับตัวได้
หมกหมุ่นกับงาน
เห็นภาพหลอน
เห็นว่าจะมีคนมาทำร้ายและสืบข้อมูล
เห็นนายชาร์ลส์และหลานสาว มาร์ซี่
นายวิลเลียม แพชเชอร์ (Mr. Willium Pacher)
ควบคุมตนเองไม่ได้
เห็นภาพหลอนจนเกือบฆ่าภรรยาและลูกชาย
มีปากเสียงและทะเลาะกับคนรอบข้าง
พฤติกรรมที่แสดงออก
กระสับกระส่าย
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
มองซ้าย-ขวาตลอดเวลา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เดินหลังค่อม
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
การเลี้ยงดู
ถูกครอบครัวตำหนิ
ปัญหาในครอบครัวไม่ได้รับการแก้ไข
ครอบครัวไม่พร้อมสำหรับการแก้ไขปัญหา
ด้านจิตใจ
ความเครียด
ความหวาดระแวง
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
ความขัดแย้งภายในใจ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพสังคม
มีปัญหาในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ความกดดัน
ชีวิตหลังหายการเจ็บป่วย
ได้รับรางวัลโนเบล
รู้สึมีความภาคภูมิใจในตนเอง
สามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันได้
การคาดการณ์ของโรค
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง (Schyzophrenia paranoid)
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)