Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพของประชาชน - Coggle…
บทที่5 พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพของประชาชน
5.7 พระราชบัญญัติเครื่องสำอางพ.ศ.๒๕๕๘
มาตรา๑ พระราชบัญญัติเครื่องสำอางพ.ศ.๒๕๕๘
มาตรา๒ ใช้บังคับวัดถัดจากประกาศ
มาตรา๓ ยกเลิกพระราชบัญญัติเครื่องสำอางพ.ศ.๒๕๓๕
มาตรา๔ ให้ความหมายเครื่องสำอาง ภาชนะบรรจุ โฆษณา สื่อโฆษณา ฉลาก ผลิต ส่งออก ขาย สารสำคัญ สถานที่ ใบรับจดแจ้ง ผู้จดแจ้ง ผู้รับจดแจ้ง คณะกรรมการ กรรมการ เลขาธิการ พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี
มาตรา๕ ให้รัฐมนตรีกระทรวงรักษาการและมีอำนาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ออกกฎค่าธรรมเนียม
มาตรา๖ เพื่อประโยชน์การคุ้มครองความปลอดภัยและอนามัยบุคคล ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำคณะกรรมการมีอำนาจกำหนด
หมวด๑ คณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา๗ มีคณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา๘ กรรมการทรงคุณวุฒิมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละสองปี อยู่วาระไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา๙ จากพ้นตำแหน่ง พ้นจากตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก ล้มละลาย คนไร้ความสามารถ จำคุก
มาตรา๑๐ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๑๑ การประชุมต้องมีกรรมการประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนทั้งหมาด
มาตรา๑๒ คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา๑๓ ให้อนุกรรมการมาตรา๑๒ มีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ
หมวด๒ การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา๑๔ ผู้ประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นำเข้า รับจ้างผลิตเครื่องสำอาง ต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสำอางต่อผู้รับจดแจ้ง เมื่อผู้รับจดแจ้งใบรับจดแจ้งจึงผลิตได้
มาตรา๑๕ ใบรับจดแจ้งมีอายุสามปีนับวันที่ออก
มาตรา๑๖ ผู้ผลิต นำเข้าเครื่องสำอางเป็นตัวอย่างเพื่อจัดนิทรรศการ ศึกษา วิจัย ให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบจดแจ้งมาตรา๑๔
มาตรา๑๗ ให้ผู้รับจดแจ้งมีคำสั่งไม่รับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา๑๘ ถ้าใบรับจดแจ้งชำรุด เสียหายให้ผู้จดแจ้งยื่นคำขอใบแทนใบรับจดแจ้งภายในสิบห้าวัน
มาตรา๑๙ กรณีผู้จดแจ้งประสงค์จะข้อแก้รายงานในใบแจ้ง ให้ยื่นเรื่องต่อผู้รับจดแจ้ง
มาตรา๒๐ ผู้จดแจ้งประสงค์จะขอออกหนังสือรับรองเกี่ยวกับเครื่องสำอางให้ยื่นคำขอต่อผู้รับจดแจ้ง
มาตรา๒๑ การพิจารณาออกใบรับจดแจ้งมาตรา๑๔ แก้ไขมาตรา๑๙ และออกหนังสือมาตรา๒๐ ให้เลขาธิการโดยความเห็นชอบคณะกรรมการในการประเมินเอกสาร ตรวจสอบสถานประกอบการ ตรวจสอบ กำหนดอัตราค่าใช้จ่าย
หมวด๓ ฉลากเครื่องสำอาง
มาตรา๒๒ ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นำเข้า ผู้รับจ้างผลิตเครื่องสำอางต่องให้มีฉลาก
มาตรา๒๓ ฉลากไม่เป็นตามมาตรา๒๒ เลขาธิการมีอำนาจสั่งให้ผู้จดแจ้งเครื่องสำอางเลิกใช้ฉลากดังกล่าว
มาตรา๒๔ ผู้จดแจ้งสงสัยฉากตนเป็นการฝ่าฝืนมาตรา๒๒ ผู้จดแจ้งขอให้กรรมการให้ความเห็นชอบ ซึ่งจะแจ้งให้ทราบในเก้าสิบวันที่สำนักงาน
หมวด๔ การควบคุมเครื่องสำอาง
มาตรา๒๕ เมื่อประกาศมาตรา๖ การนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอาง ต้องผ่านการตรวจสอบพนกงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๒๖ ผู้จดแจ้งต้องผลิตให้ตรงตามที่แจ้ง
มาตรา๒๗ ห้ามไม่ให้ผู้ใดผลิตเพื่อขาย นำเข้า รับจ้างผลิตที่ไม่ปลอดภัย ปลอม ผิดมาตรฐาน ห้ามมาตรา๖ ถูกสั่งเพิกถอน
มาตรา๒๘ เครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย บรรจุไม่ถูกสุขลักษณะ มีสารสลายตัว มีสิ่งเจือปน ห้ามใช้มาตรา๖
มาตรา๒๙ เครื่องสำอางที่มีลักษณะปลอม
มาตรา๓๐ เครื่องสำอางมีสารสำคัญขาดหรือเกินที่แจ้งต่อผู้จด ถือเป็นเครื่องสำอางผิดมาตรฐาน
มาตรา๓๑ ผู้แจ้งฝ่าฝืนมาตรา๒๖ ๖ ให้ผู้รับจดแจ้งมีอำนาจสั่งระงับกระทำฝ่าฝืนหรือปรับปรุง
มาตรา๓๒ ห้ามไม่ให้ผู้ขายเครื่องสำอาง
มาตรา๓๓ มีความจำเป็นเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยและอนามัยของบุคคล เลขาธิการมีอำนาจออกคำสั่งให้ผู้จดแจ้งดำเนินการ
มาตรา๓๔ มีกำหนดให้วัตถุใดใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอางมาตรา๖ ถือว่าวัตถุดังกล่าวได้รับการยกเว้นไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยยา
มาตรา๓๕ เพื่อประโยชน์ในการส่งออก ผู้ผลิตจะผลิตเพื่อส่งออกโดยมีคุณภาพ มาตรฐาน ฉลาก ตามผู้สั่งกำหนดต้องแจ้งรายละเอียดต่อผู้รับจดแจ้ง และปฏิบัติตามเกณฑ์
หมวด๕ การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา๓๖ ผู้รับจดแจ้งมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้ง หากเครื่องสำอางเป็นมาตรา๖ ผู้จดแจ้งไม่ปฏิบัติมาตรา๒๖
มาตรา๓๗ เพื่อประโยชน์การคุ้มครองสุขภาพและปลอดภัยของผู้บริโภค
มาตรา๓๘ คำสั่งเพิกถอนใบรับรับจดแจ้งเครื่องสำอาง ทำเป็นหนังสือแจ้งผู้จดแจ้งทราบ
มาตรา๓๙ การแจ้งคำสั่งถอนใบรับแจ้งโดยวิธีให้บุคคลนำไปส่ง ถ้าผู้จดแจ้งไม่ยอมรับและส่งไปแล้วถือว่าได้รับแจ้งแล้ว
มาตรา๔๐ การแจ้งคำสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งโดยส่งไปรษณีย์ตอบรับถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนดเจ็ดวันส่ง
หมวด๖ การโฆษณา
มาตรา๔๑ การโฆษณาเครื่องสำอางต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
มาตรา๔๒ การโฆษณาต้องไม่กระทำด้วยวิธีเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ
มาตรา๔๓ กรณีเลขาธิการเห็นว่าเครื่องสำอาจใดเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคให้ออกคำสั่งผู้จดแจ้งดำเนินการ
มาตรา๔๔ กรณีเลขาธิการเห็นโฆษณาฝ่าฝืนมาตรา๔๑ ๔๒ มีอำนาจออกคำสั่งให้ผู้จดแจ้งดำเนินการ
มาตรา๔๕ กรณีเลขาธิการมีเหตุสงสัย ข้อความโฆษณาเป็นเท็จมาตรา๔๑ วรรคสอง ให้เลขาธิการออกคำสั่งผู้จดแจ้งทำโฆษณาพิสูจน์
มาตรา๔๖ ผู้จดแจ้งสงสัยว่าโฆษณาของตนฝ่าฝืนหรือไม่ อาจขอให้กรรมการให้ความเห็นเรื่องนั้นก่อนทำโฆษณา
หมวด๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๔๗ เพื่อปฏิบัติตามบัญญัติ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ
มาตรา๔๘ กรณีปรากฏต่อพนักงานกระทำผิดมาตรา๑๔วรรคหนึ่ง ๒๖ ๒๗ ๓๒ ให้เจ้าหน้าที่ได้รับอนุมัติมีอำนาจสั่งผู้จดแจ้ง เรียกเก็บคืนและทำลายเครื่องสำอางนั้น
มาตรา๔๙ ให้พนักงานที่ผู้ค้น บันทึกรายละเอียดการค้นและบัญชีรายละเอียดที่ค้น ยึด หรืออายัด
มาตรา๕๐ สิ่งของที่ยึดตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา๕๑ สิ่งของที่ยึดเป็นของใกล้หมดอายุตามใช้งานที่กำหนด สำนักกรรมการอาหารและยาจะจัดการขายทอดตลาด
มาตรา๕๒ การปฏิบัติมาตรา๔๗ ให้กระทำต่อหน้าผู้ครอบครองสถานที่ ทำต่อหน้าอย่างน้อยสองคน เจ้าหน้าที่เป็นพยาน
มาตรา๕๓ การปฏิบัติหน้าที่ให้พนักงานที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๕๔ การปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
มาตรา๕๕ ให้เลขาธิการมีอำนาจประกาศผลการตรวจสอบเครื่องสำอางที่ไม่ปฏิบัติมาตร๔๗
หมวด๘ การอุทธรณ์
มาตรา๕๖ ผู้รับแจ้งไม่ออกใบรับจดแจ้ง ผู้ขอจดแจ้งมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวเป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวัน
มาตรา๕๗ ผู้จดแจ้งถูกเพิกถอนใบจดรับจดแจ้งมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีในสามสิบวัน
มาตรา๕๘ ผู้ได้รับคำสั่งมาตรา๒๓ ๓๓ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ไม่พอใจคำสั่งดังกล่าว มีสิทธิยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือภายในสามสิบวัน
มาตรา๕๙ พิจารณามาตรา๕๖ ๕๗ ๕๘ ให้รัฐมนตรีพิจารณาเสร็จภายในสิบเก้าวัน
หมวด๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา๖๐ ผู้ผลิต ขาย ฝ่าฝืนมาตรา๖ วางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๑ ผู้ไม่มาให้ถ้อยคำ ส่งเอกสาร มาตรา๑๓ ๔๗ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๒ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๑๔วรรคหนึ่ง วางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๓ ผู้จดแจ้งไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ มาตรา๑๔วรรคสาม วางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา๖๔ ผู้จดแจ้งยื่นคำขอต่อใบอายุภายหลังใบรับจดแจ้งสิ้นอายุมาตรา๑๕วรรคสี่ วางโทษปรับรายวัน วันละห้าร้อยบาท
มาตรา๖๕ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๑๖วรรคสอง วางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๖ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๑๘ วรรคหนึ่ง วางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา๖๗ ผู้ผลิตเพื่อขาย ไม่ปฏิบัติมาตรา๒๒วรรคหนึ่ง ๒๒วรรคสอง วางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๘ ผู้ผลิตเพื่อขาย ฉลากไม่เป็นตามมาตรา๒๒วรรคสอง วางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๙ ผู้จดแจ้งใช้ฉลากสั่งเลิกใช้มาตรา๒๓ วางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๐ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๒๕ วางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๗๑ ผู้จดแจ้งไม่ปฏิบัติมาตรา๒๖ วางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๗๒ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๒๗ ๒๘ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๓ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๒๗ ๒๘ วางโทษจำคุกไม่เกินสองปี ปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๔ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๒๗ ๒๘วางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี ปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๕ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๒๗ ๒๙ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๖ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๒) ๒๙(๓)(๔) วางโทษจำคุกไ่เกินสองปี ปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๗ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๒๗(๓) ๓๐ วางโทษปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท
มาตรา๗๘ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๒(๑) วางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๗๙ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๒(๖)วางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๘๐ ผู้จดแจ้งไม่ปฏิบัติมาตรา๓๓ วางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๘๑ ผู้ผลิตไม่ปฏิบัติมาตรา๓๓ วางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๘๒ ผู้ผลิตถูกเพิกถอนมาตรา๓๖(๑) ๓๗(๒)(๓) วางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินห้าแสนบาท
มาตรา๘๓ ผู้ผลิตถูกเพิกถอนมาตรา๓๖(๒) ๓๗(๑) วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีและปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา๘๔ ผู้โฆษณาไม่เป็นมาตรา๔๑ ๔๒ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๘๕ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๔๓ ๔๔ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๘๖ ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานมาตรา๔๗ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื่อทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๘๗ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๔๘ วางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๔๘ ทำผิดมาตรา๘๔ ๘๕ วางโทษปรับวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาฝ่าฝืน
มาตรา๘๙ ศาลพิพากษาลงโทษผิดมาตรา๑๔วรรคหนึ่ง ๒๗ ศาลสั่งริบเครื่องสำอาง
มาตรา๙๐ ความผิดมีโทษปรับสถานเดียว จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
บทเฉพาะกาล
มาตรา๙๑ วาระแรกให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการโดยตำแหน่งมาตรา๗ ปฏิบัติหน้าที่พลางก่อน จนมีพนักงานมา ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
มาตรา๙๒ คำขอแจ้งรายละเอียดเครื่องสำอางควบคุมได้ยื่นไว้ตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอางพ.ศ.๒๕๒๓ และยังอยู่ในการพิจารณา ถือว่าเป็นการขอจดแจ้งเครื่องสำอางโดยอนุโลม
มาตรา๙๓ ใบรับแจ้งเครื่องสำอางควบคุมตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอางพ.ศ.๒๕๓๕ ถือว่าเป็นใบรับจดแจ้งตามพระราชบัญญัติ
มาตรา๙๔ บรรดากฎกระทรวง ใช้บังคับวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
5.5พระราชบัญญัติยาพ.ศ.๒๕๑๐
มาตรา๑ พระราชบัญญัติยาพ.ศ.๒๕๑๐
มาตรา๒ ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศ
มาตรา๓ ให้ยกเลิก การขายยาพ.ศ.๒๔๙๓ ๒๔๙๘ ๒๔๙๙ ๒๕๐๕
มาตรา๔ ให้ความหมายยา ยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้ภายนอก ยาใช้เฉพาะที่ ยาสามัญประจำบ้าน ยาบรรจุเสร็จ ยาสมุนไพร เภสัชเคมีภัณฑ์ เภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป การประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประมันโรคศิลปะแผนปัจจุบัน การประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ การบำบัดโรคสัตว์ ผลิต สารออกฤทธิ์ ความแรงของสารออกฤทธิ์ ขาย ขายส่ง ด่านนำเข้า ฉลาก เอกสารกำกับยา เอกสารกำกับยา ตำรับยา กระบวนการพิจารณาอนุญาตยา ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ เภสัชกรชั้นหนึ่ง เภสัชชั้นสอง ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นสอง ผู้รับอนุญาต ผู้อนุญาต คณะกรรมการ พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี
มาตรา๕ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานกับออกกฎหมายกำหนดค่าธรรมเนียม และกำหนดกิจกรรมกิจการอื่น รวมทั้งประกาศเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
หมวด๑ คณะกรรมการยา
มาตรา๖ ให้มีคณะกรรมการยา
มาตรา๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ตำแหน่งคราวละสองปี กรรมการพ้นจากตำแหน่งอาจรับแต่งตั้งได้
มาตรา๘ นอกจากพ้นตำแหน่ง มาตรา๗ ยังพ้นจาก(๑)ตาย(๒)ลาออก(๓)รัฐมนตรีให้ออก(๔)ล้มละลาย(๕)คนไร้ความสามารถ(๖)จำคุก(๗)ถูกสั่งพัก
มาตรา๙ การประชุมกรรมการต้องมีไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของกรรมการ ถ้าประธานไม่อยู่ให้เลือกกรรมการเป็นประธานที่ประชุม
มาตรา๑๐ กรรมการมีหน้าที่ให้คำแนะนำหรือความเห็นต่างๆ
มาตรา๑๑ ให้กรรมการมีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาศึกษาเรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอำนาจกรรมการ
หมวด๑/๑ กระบวนการพิจารณาอนุญาตยา
มาตรา๑๑/๑ นอกจากเจ้าหน้าที่สำนักงานที่รับมอบหมายทำกิจการหน้าที่่และอำนาจของสำนักงาน ให้มีผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญ รัฐ เอกชนทั้งในและต่างประเทศ ทำหน้าที่ประเมินเอกสารวิชาการ ตรวจวิเคราะห์ เพื่อให้กระบวนการพิจารณาอนุญาตยาสะดวกและรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
มาตรา๑๑/๒ เพื่อประโยชน์ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศกำหนด
มาตรา๑๑/๓ เงินค่าขึ้นบัญชีจัดเก็บตามมาตรา๑๑/๒ เป็นของสำนักงานอาหารและยา ซึ่งไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้ของแผ่นดิน ใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
มาตรา๑๑/๔ การรับเงินมาตรา๑๑/๒(๒)(๓) การจ่ายตามมาตรา๑๑/๓และการเก็บเงินตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศ
หมวด๒ การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา๑๒ ห้ามไม่ให้ผู้ผลิต ขาย นำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน เว้นได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๑๓ บทบัญญัติมาตรา๑๒ ไม่ใช้บังคับ
มาตรา๑๔ ผู้อนุญาตออกใบอนุญาตผลิต ขายเข้ามาในประเทศซึ่งยาแผนปัจจุบัน เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาต
มาตรา๑๕ เรื่องประเภทใบอนุญาตสำหรับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา๑๖ ใบอนุญาตออกมาตรา๑๕ ให้คุ้มกันลูกจ้างของผู้รับอนุญาตด้วย
มาตรา๑๗ ใบอนุญาตมาตรา๑๕ ใช้ได้ถึง๓๑ธ.ค.ของปีที่ออกใบอนุญาต ถ้าผู้รับอนุญาตจะขอต่อให้ยื่นขอก่อนจะสิ้นอายุ
มาตรา๑๘ กรณีผู้อนุญาตไม่ยอมต่อใบอนุญาตให้ผู้ขออนุญาตสามารถมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีในสามสิบวัน
หมวด๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา๑๙ ห้ามไม่ให้ผู้รับอนุญาติ (๑)ผลิตยานอกสถานที่ในใบอนุญาตกำหนด (๒)ผลิตไม่ตรงตามประเภท (๓)ขายยาอันตราย
มาตรา๒๐ ผู้รับอนุญาตต้องมีเภสัชกรอย่างน้อยสองคนมีหน้าที่ปฏิบัติมาตรา๓๘ และเภสัชหนึ่งคนประจำอยู่
มาตรา๒๑ ผู้รับอนุญาตขายยา มรเภสัชชั้นหนึ่งหรือสอง ปฏิบัติมาตรา๓๙ ๔๐ ประจำอยู่
มาตรา๒๑ทวิ ผู้รับอนุญาติขายส่งยาต้องมีเภสัชชั้นหนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่มาตรา๔๐ทวิประจำอยู่
มาตรา๒๒ ผู้รับอนุญาตขายยาเฉพาะยาบรรจุที่ไม่ใช่ยาอันตราย ต้องมีเภสัชชั้นหนึ่ง สอง ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะชั้นหนึ่งสาขาทันตกรรม เป็นผู้ปฏิบัติมาตรา๔๑
มาตรา๒๓ ผู้รับอนุญาตขายยาเฉพาะบบรจุสำหรับสัตว์ต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง สอง ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่งหรือสอง ปฏิบัติมาตรา๔๒ ๔๓ ประจำ
มาตรา๒๔ ผู้รับอนุญาตสั่งยาเข้าในประเทศต้องมีเภสัชชั้นหนึ่ง ปฏิบัติมาตรา๔๔ ประจำ
มาตรา๒๕ การปฏิบัติของผู้รับอนุญาตผลิตยาปัจจุบัน
มาตรา๒๖ การปฏิบัติของผู้รับอนุญาตขายยา
มาตรา๒๖ทวิ ให้ผู้รับอนุญาตขายส่งยาปฏิบัติมาตรา๒๖วรรคหนึ่งโดยอนุโลม เว้นไม่ต้องจัดมีส่วนสำหรับปรุงยา
มาตรา๒๗ ให้ผู้รับอนุญาตสั่งยาเข้ามาในประเทศให้มีการปฏิบัติ
มาตรา๒๗ทวิ ยาที่นำเข้ามาในประเทศต้องผ่านการตรวจสอบพนักงาน ณ ด่านนำเข้า
มาตรา๒๘ ใบอนุญาตสุญหาย ผู้รับอนุญาตแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบห้าวัน
มาตรา๒๙ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตตนและเภสัชกร และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง ติดไว้ ณ ที่เปิดเผยเห็นได้ง่ายที่สถานที่ผลิตยา
มาตรา๓๐ ห้ามไม่ให้ผู้รับอนุญาตย้ายสถานที่ผลิตยา ขายยา นำยาเว้นแต่รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๓๑ ห้ามไม่ให้ผู้รับอนุญาตผลิตยายาในสถานที่ผลิตระหว่างเภสัชไม่อยู่
มาตรา๓๒ ห้ามไม่ให้ผู้รับอนุญาตขายยาอันตรายระหว่างเภสัชไม่อยู่
มาตรา๓๓ เมื่อผู้รับอนุญาตประสงค์เปลี่ยนหน้าที่ปฏิบัติมาตรา๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๐ทวิ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ให้แจ้งเป็นหนังสือ จะเปลี่ยนได้เมื่อจากผู้อนุญาต
มาตรา๓๓ทวิ กรณีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติสถานที่ผลิตยา ขายยา ไม่อาปฏิบัติได้เป็นการชั่วคราวไม่เกินหกสิบวัน ให้ผู้รับอนุญาตจัดผู้มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับผู้ปฏิบัติหน้าที่นั้นเข้าแทนที่ ซึ่งแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตก่อน
มาตรา๓๔ ผู้ปฏิบัติมาตรา๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๐ทวิ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ประสงค์ไม่ปฏิบัติหน้าที่ต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตไม่เกินเจ็ดวัน
มาตรา๓๕ ผู้รับอนุญาตเลิกกิจการต้องแจ้งการเลิกกิจการเป็นหนังสือไม่เกินเก้าสิบวัน
มาตรา๓๖ ผู้รับอนุญาตเลิกกิจการขายยาตนที่เหลือแก่ผู้รับอนุญาตอื่นภายในเก้าสิบวัน
มาตรา๓๗ ผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลมีคุณสมบัติเป็นผู้รับอนุญาต แสดงความจำนงภายในสามสิบวัน
หมวด๔ หน้าที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลหรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์
มาตรา๓๘ ให้เภสัชชั้นหนึ่งมาตรา๒๐ ประจำอยู่ตลอดเวลาเปิด มีหน้าที่
มาตรา๓๙ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งมาตรา๒๑ ประจำอยู่มีหน้าที่
มาตรา๔๐ ให้เภสัชชั้นสองมาตรา๒๑ ปฏิบัติมาตรา๓๙ เว้นแต่ส่วนการปรุง ขาย ส่งมอบยาวิเศษกระทำไม่ได้
มาตรา๔๐ทวิ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งมาตรา๒๑ทวิ ประจำอยู่มีหน้าที่ปฏิบัติ
มาตรา๔๑ ให้เภสัชชั้นหนึ่ง ชั้นสอง สาขาอื่นๆมาตรา๒๒ประจำอยู่ขายยาแผนปัจจุบันไม่ใช่ยาอันตรายตลอดเวลาเปิด มีหน้าที่
มาตรา๔๒ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งมาตรา๒๓ ประจำและมีหน้าที่ปฏิบัติ
มาตรา๔๓ เภสัชกรชั้นสองมาตรา๒๓ ปฏิบัติมาตรา๔๒ เว้นแต่การควบคุมการส่งยามอบยาบรรจุสำหรับสัตว์ที่เป็นบาวิเศษทำไม่ได้
มาตรา๔๔ เภสัชกรชั้นหนึ่งมาตรา๒๔ ประจำอยู่ มีหน้าที่
มาตรา๔๕ ห้ามให้เภสัชกร และสาขาอื่นๆปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ผลิตยา ขายยาโดยตนเองไม่ได้มีชื่อเป็นหน้าที่ปฏิบัติสถานที่นั้น
หมวด๕ การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา๔๖ ห้ามไม่ให้ผู้ผลิต ขาย นำเข้าซึ่งยาโบราณ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๔๗ บทบัญญัติมาตรา๔๖ ไม่ใช้บังคับบางกลุ่ม
มาตรา๔๘ ผู้อนุญาตออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย นำเข้า เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาต
มาตรา๔๙ ระบุประเภทของใบอนุญาตสำหรับยาแผนโบราณ
มาตรา๕๐ ใบอนุญาตมาตรา๔๙ ให้คุ้มกันลูกจ้างของผู้รับอนุญาตด้วย
มาตรา๕๑ ใบอนุญาตมาตรา๔๙ ใช้ถึง๓๑ ธ.ค.ของปีที่ออกใบอนุญาต ถ้าประสงค์ต่อให้ยื่นคำขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ
มาตรา๕๒ ผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตให้ต่อใบ ผู้ขออนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวัน
หมวด๖ หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา๕๓ ห้ามไม่ให้ผู้รับอนุญาตผลิต ขายยานอกสถานที่ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
มาตรา๕๔ ผู้รับอนุญาตผลิตยา ต้องมีผู้ประกอบศิลปะแผนโบราณปฏิบัติมาตรา๖๘ ประจำอยู่
มาตรา๕๔ทวิ ผู้รับอนุญาตผลิตยาโดยวิธีตอก อัดเม็ด เคลือบ ใส่วัตถุกันเสียต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีกำหนดกฎกระทรวง
มาตรา๕๕ ผู้รับอนุญาตขายยา ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณปฏิบัติมาตรา๖๙ ประจำอยู่
มาตรา๕๖ ผู้รับอนุญาตนำเข้ามาในประเทศ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณปฏิบัติมาตรา๗๐ ประจำอยู่
มาตรา๕๗ การปฏิบัติของผู้รับอนุญาตผลิตยา
มาตรา๕๘ การปฏิบัติของผู้รับอนุญาตขายยา
มาตรา๕๙ ให้ผู้รับอนุญาตสั่งยาเข้าประเทศมีการปฏิบัติ
มาตรา๕๙ทวิ ยาที่นำเข้าประเทศต้องผ่านการตรวจสอบของพนักงาน ณ ด่านนำเข้า
มาตรา๖๐ ใบอนุญาตสูญหาย ผู้รับอนุญาตแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอใบแทนใบอนุยาตภายในสิบห้าวัน
มาตรา๖๑ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตตนและผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณติดไว้ ณ ที่เปิดเผยสถานที่ผลิตยา ขายยา นำเข้ายา
มาตรา๖๒ ห้ามไม่ให้ผู้รับอนุญาตย้ายสถานที่ผลิตยา ขายยา นำเข้ายา เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๖๓ ผู้รับอนุญาตประสงค์เปลี่ยนตัวผู้ปฏิบัติมาตรา๖๘ ๖๙ ๗๐ ให้แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบและเปลี่ยนตัวได้เมื่อผู้อนุญาตให้
มาตรา๖๓ทวิ ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ผลิตยา ขายยา นำเข้า ไม่ปฏิบัติหน้าที่ได้ชั่วคราวไม่เกินหกสิบวัน ให้ผู้รับอนุญาตจัดให้มีผู้มีคุณสมบัติเดียวกันแทนได้ โดยผู้รับอนุญาตแจ้งเป็นหนังสือต่อผู้อนุญาต
มาตรา๖๔ ผู้ปฏิบัติมาตรา๖๘ ๖๙ ๗๐ ประสงค์ไม่ปฏิบัติหน้าที่ ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบไม่เกินเจ็ดวัน
มาตรา๖๕ ผู้รับอนุญาตเลิกกิจการต้องแจ้งการเลิกกิจการเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตไม่เกินสิบห้าวัน
มาตรา๖๖ ผู้รับอนุญาตแจ้งเลิกกิจการ ขายส่วนที่เหลือกับผู้สมควรได้ภายในเก้าสิบวัน
มาตรา๖๗ ผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลมีคุณสมบัติตาม แสดงความจำนงต่อผู้อนุญาตภายในสามสิบวัน
หมวด๗ หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
มาตรา๖๘ ให้ผู้ประกอบมาตรา๕๔ ประจำอยู่ มีหน้าที่ปฏิบัติต่างๆ
มาตรา๖๙ ให้ผู้ประกอบศิลปะมาตรา๕๕ ประจำอยู่ และปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ
มาตรา๗๐ ให้ผู้ประกอบศิลปะมาตรา๕๖ ประจำอยู่และมีการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ
มาตรา๗๑ห้ามไม่ให้ผู้ประกอบศิลปะปฏิบัติหน้าที่ที่ตนไม่มีชื่อผู้ปฏิบัติสถานที่นั้น
หมวด๘ ยาปลอม ยาผิดกฎหมาย ยาเสื่อมคุณภาพ
มาตรา๗๒ ห้ามไม่ให้ผู้ผลิต ขาย นำเข้ายาที่อันตราย
มาตรา๗๓ กล่าวถึงยา วัตถุเป็นยาปลอม
มาตรา๗๔ กล่าวถึงยาผิดมาตรฐาน
มาตรา๗๕ กล่าวถึงยาเสื่อมคุณภาพ
มาตรา๗๕ทวิ ห้ามไม่ให้ขายยาบรรจุเสร็จหลายขนานโดยจัดเป็นชุดคราวเดียวกัน โดยเจตนาให้ผู้ซื้อบำบัด รักษา
หมวด๙ การประกาศเกี่ยวกับยา
มาตรา๗๖ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศราชกิจจานุเบกษา
มาตรา๗๗ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศนาชกิจจานุเบกษาระบุโรคที่ห้ามโฆษณายาว่าใช้บำบัด รักษา
มาตรา๗๗ทวิ เพื่อประโยชน์แห่งการคุ้มครองประชาชน รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดจำนวนสถานที่ขาย
มาตรา๗๗ตรี เพื่อประโยชน์ควบคุมยาที่นำเข้าประเทศ รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศกำหนดด่านนำเข้าได้
มาตรา๗๗จัตวา เพื่อประโยชน์ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาเพื่อพิจารณาขอขึ้นทะเบียนตำรับยาให้มีประสิทธิภาพและมาตรฐาน รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขในการศึกษาวิจัย
มาตรา๗๗เบญจ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกี่ยวกับยา รัฐมนตรีประกาศกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขมาตรฐานการผลิตยา ขายยา นำเข้า โดยอ้างอิงมาตรฐานต่างประเทศ
มาตรา๗๘ ประกาศของรัฐมนตรีหมวดนี้ ให้กระทำเมื่อรับคำแนะนำจากกรรมการ
หมวด๑๐ การขึ้นทะเบียนตำรับยา
มาตรา๗๙ ผู้รับอนุญาตผลิตยา นำเข้า ประสงค์จะผลิต นำเข้าต้องนำตำรับยาขอขึ้นทะเบียนต่อพนักงาน และได้รับใบสำคัญการขึ้นตำรับยาจึงผลิตยา นำเข้าได้
มาตรา๘๐ การขอขึ้นทะเบียนตำรับยามาตรา๗๙ต้องแจ้งรายละเอียดต่างๆก่อน
มาตรา๘๑ การแก้รายการทะเบียนตำรับยา ทำได้เมื่อรับอนุญาตจากพนักงาน
มาตรา๘๒ การขอขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญให้เป็นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขที่กำหนดกระทรวง
มาตรา๘๓ ห้ามไม่ให้พนักงานรับขึ้นทะเบียนตำรับยา เมื่อกรรมการเห็นว่าเป็นยาอันตราย ไม่เป็นตามการขึ้นทะเบียน
มาตรา๘๔ บทบัญยัติมาตรา๘๓ ให้บังคับใช้แก่การแก้รายการทะเบียนตำรับยาโดยอนุโลม
มาตรา๘๕ ให้ผู้รับอนุญาตผลิตยา นำเข้า ขึ้นทะเบียนตำรับยาแต่ละตำรับ ตามแบบที่กำหนดกฎกระทรวง ภายใน ๓๑ มี.ค.ของปีถัดไป
มาตรา๘๖ ยาได้ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้แล้ว ภายหลังพบยาไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียน หรือไม่ปลอดภัย ให้รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งให้เพิกถอนทะเบียนตำรับยานั้นได้
มาตรา๖๘/๑ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยผู้ใช้ยา ให้รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งแก้ไขทะเบียนตำรับยาที่ได้ขึ้นทะเบียนตามที่เห็นสมควร ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
มาตรา๖๘/๒ ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาให้มีอายุเจ็ดปี
มาตรา๘๗ ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาสูยหาย ให้ผู้รับอนุญาตแจ้งต่อเจ้าหน้าที่และยื่นคำขอรับใบแทนใบสำคัญภายในสิบห้าวัน
หมวด๑๑ การโฆษณา
มาตรา๘๘ กล่าวถึงลักษณะการโฆษณายา
มาตรา๘๘ทวิ การโฆษณาขายยาทางวิทยุกระจายเสียง เครื่องเสียง ทางฉายภาะ ต้องได้รับอนุมัติก่อน
มาตรา๘๙ ห้ามไม่ให้โฆษณาขายยาโดยไม่สุภาพ
มาตรา๙๐ ห้ามไม่ให้โฆษณาขายยาโดยวิธีแถม ออกสลากรางวัล
มาตรา๙๐ทวิ เลขาธิการมีอำนาจสั่งเป็นหนังสือให้ระงับการโฆษณาขายยาที่เห็นว่าฝ่าฝืนพระราชบัญญัติ
หมวด๑๒ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๙๑ กล่าวถึงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจต่างๆ
มาตรา๙๒ การปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวเมื่อบุคคลร้องขอ
มาตรา๙๓ ยาที่รวมทั้งภาชนะที่ยึดได้มาตรา๙๑ ถ้าไม่มีกรณียกเว้น ให้ตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา๙๔ การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ให้เจ้าหน้าเป็นพนักงานประมวลกฎหมายอาญา
หมวด๑๓ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา๙๕ ผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ผู้อนุญาตคำแนะนำของกรรมการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดครั้งละไม่เกินร้อยยี่สิบวัน
มาตรา๙๖ ผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติมาตรา๑๔ ๔๘ ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้
มาตรา๙๗ คำสั่งพักใช้ใบอนุญาตและเพิกถอนให้ทำเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับอนุญาตทราบ
มาตรา๙๘ ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งถอนคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตก่อนกำหนดเวลาได้
มาตรา๙๙ ผู้รับอนุญาตถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวัน รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งให้ยกอุทธรณ์หรือแก้ไขคำสั่งของผู้อนุญาตในทางเป็นคุณแก่ผู้อุทธรณ์ได้
มาตรา๑๐๐ ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะขายยาตนที่เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาตอื่น ผู้อนุญาตเห็นสมควรภายในหกสิบวันได้รับคำสั่งเพิกถอน
หมวด๑๔ บทกำหนดโทษ
มาตรา๑๐๑ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๑๒ วางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๑๐๒ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๑๙ ๓๐ วางโทษปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงห้าพันบาท
มาตรา๑๐๓ ผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติมาตรา๒๐ ๒๑ ๒๑ทวิ ๒๒ ๒๓ ๒๔ วางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๐๔ ผู้รับอนุญาติผลิตยา ขายยา นำเข้า ใบอนุญาตสิ้นอายุ ต้องวางโทษปรับรายวัน วันละหนึ่งร้อยบาท ตลอดเวลาใบอนุญาตหมดอายุ
มาตรา๑๐๕ ผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามมาตรา๒๗ทวิ ๕๙ทวิ วางโทษปรับสองพันถึงหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๑๐๕ทวิ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๒๗ทวิ ๕๙ทวิ วางโทษปรับสองพันถึงหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๑๐๖ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๒๘ ๒๙ ๓๓ ๓๕ ๖๐ ๖๑ ๖๓ ๖๕ ๘๑ ๘๗ วางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา๑๐๗ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๑ ๓๒ วางโทษปรับหนึ่งพันถึงห้าพันบาท
มาตรา๑๐๗ทวิ ผู้รับอนุญาตไม่แจ้งตามมาตรา๓๓ทวิ วางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
มาตรา๑๐๘ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๓๔ ๖๔ วางโทษปรับไ่เกินห้าร้อยบาท
มาตรา๑๐๙ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๐ทวิ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ วางโทษปรับหนึ่งพันถึงห้าพันบาท
มาตรา๑๑๐ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๔๕ วางโทษจำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินห้าพันบาท
มาตรา๑๑๑ ผู้ฝ่าฝืน๔๖ วางโทษจำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินห้าพันบาท
มาตรา๑๑๒ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๕๓ ๖๒ วางโทษปรับหนึ่งพันถึงสามพันบาท
มาตรา๑๑๓ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๕๔ ๕๕ ๕๖ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๑๔ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๕๗ ๕๘ ๕๙ วางโทษปรับหนึ่งพันถึงห้าพันบาท
มาตรา๑๑๔ทวิ ผู้รับอนุญาตไม่แจ้งมาตรา๖๓ทวิ วางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
มาตรา๑๑๕ ผู้ประกอบโรคแผนโบราณไม่ปฏิบัติมาตรา๖๘ ๖๙ ๗๐ วางโทษปรับห้าร้อยถึงสองพันบาท
มาตรา๑๑๖ ผู้ประกอบโรคแผนโบราณฝ่าฝืนมาตรา๗๑ วางโทษปรับห้าร้อยถึงสองพันบาท
มาตรา๑๑๗ ผู้ผลิตยาปลอมฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๑)วางโทษจำคุกสามปีถึงตลอดชีวิต ปรับหนึ่งหมื่นถึงห้าหมื่นบาท
มาตรา๑๑๘ ผู้ผลิตยาผิดมาตรฐานฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๒)(๖) วางโทษจำคุกสองปีถึงห้าปี ปรับสี่พันถึงสองหมื่นบาท
มาตรา๑๑๙ ผู้ขาย นำเข้าฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๑) วางโทษจำคุกหนึ่งปีถึงยี่สิบปี ปรับสองพันถึงหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๑๒๐ ผู้ขาย นำเข้า ฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๒)(๖) วางโทษจำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินห้าพันบาท
มาตรา๑๒๑ ผู้ขาย นำเข้าฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๓) วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
๑๒๒ ผู้ผลิต ขาย นำเข้าฝ่าฝืนมาตรา๗๒(๔) วางโทษจำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๒๒ทวิ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๗๕ทวิ วางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
๑๒๒ตรี ผู้ศึกษาวิจัยไม่ปฏิบัติมาตรา๗๗จัตวา วรรคสาม วางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา๑๒๓ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๘๙วรรคหนึ่ง วางโทษจำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๒๓ทวิ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๘๕วรรคหนึ่ง วางโทษปรับหนึ่งพันถึงห้าพันบาท ปรับเป็นรายวันวันละร้อยบาทจนปฏิบัติถูกต้อง
มาตรา๑๒๓ตรี ผู้รับอนุญาตส่งรายงานมาตรา๘๕วรรคหนึ่ง เป็นเท็จ วางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๒๓จัตวา ผู้รับใบสำคัญขึ้นทะเบียนตำรับยาผู้ยื่นต่อภายหลังสิ้นอายุไม่เกินหนึ่งเดือนตามมาตรา๘๖/๒ วางโทษปรับรายวันไม่เกินห้าร้อยบาท ตลอดเวลาไม่ยื่นคำขอต่อใบสำคัญ
มาตรา๑๒๔ ผู้โฆษณายาฝ่าฝืนมาตรา๘๘ ๘๘ทวิ ๘๙ ๙๐ วางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา๑๒๔ทวิ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๙๐ทวิ วางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๒๕ ผู้ขัดขวางพนักงานมาตรา๙๑ วางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๑๒๕ทวิ ผู้รับอนุญาตถูกสั่งพักมาตรา๙๕ วางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๑๒๖ มีการลงโทษมาตรา๑๐๑ ๑๑๑ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๒ ให้ริบยา เครื่องมือ ให้แก่กระทรวงสาธารณสุขเพื่อทำลายเสีย
มาตรา๑๒๖ทวิ ความผิดมีโทษปรับสถานเดียวให้เลขาธิการมอบอำนาจเปรียบเทียบปรับได้
บทเฉพาะกาล
มาตรา๑๒๗ ใบอนุญาติประกอบธุรกิจการขายยาตามกฎหมาย ให้ใช้ต่อไปจนจะสิ้นอายุ ถ้าผู้ได้รับใบอนุญาตประสงค์ผลิต ขาย นำเข้ายาต่อไปและยื่นคำขอรับใบอนุญาต ถ้ากรณีรับใบอนุญาตใหม่ให้ดำเนินการถูกต้องภายในร้อยยี่สิบวัน
มาตรา๑๒๘ ใบสำคัญขึ้นทะเบียนตำรับยาออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยการขายยาก่อนวันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ มีอายุ
มาตรา๑๒๙ ภายในสามปี บรรดายาที่ผลิต ขาย นำเข้า ขายก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ รับการยกเว้นมาตรา๒๕(๓) ๒๖(๕) ๒๗(๓) ๕๗(๒) ๕๘(๒) ๕๙(๒)
การแก้ไขพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติยา(ฉบับที่๒) พ.ศ.๒๕๑๘
พระราชบัญญัติยา(ฉบับที่๓) พ.ศ.๒๕๒๒
พระราชบัญญัติยา(ฉบับที่๔) พ.ศ.๒๕๒๗
พระราชบัญญัติ(ฉบับที่๕) พ.ศ.๒๕๓๐
พระราชบัญญัติยา(ฉบับที่๖) พ.ศ.๒๕๒๖