Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา…
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
แบ่งได้2ชนิด
T-cell
B-cell
พบมากสุด
ชนิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (Acute myelogenous leukemia) พบในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก และพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (Chronic lymphocytic leukemia ) พบบ่อยในผู้ใหญ่
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL (Acute lymphoblastic leukemia )พบได้บ่อยที่สุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (Chronic myelogenous leukemia ) พบได้น้อยพบเด็กมากกว่า 4 ปี
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม เสี่ยงเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALLและAMLมากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่เป็น ALL มี่โอกาสมากกว่า
แฝดถ้าเป็น ALL แฝดอีกคนจะเสี่ยง 25%
ด้านสิ่งแวดล้อม
ได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
สัมผัสสารเบนซิน,ฟอร์มาลดีไฮด์
เด็กที่รับรังสีรักษาในขณะอยู่ในครรภ์
ควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
ความหมาย
มีอาการซีด เลือดออก ติดเชื้อง่าย
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
ส่งผลให้จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
เกิดจากความผิดปกติของ
เซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow) ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
อาการ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่ายตามไรฟัน มีจ้ำเลือดตามตัว
ติดเชื้อง่าย มีไข้
มีก้อนขึ้นขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ ตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
เจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งไต
อาการแสดง
ปวดท้อง
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
มีก้อนในท้อง ท้องโต
พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
มีไข้ ปวดกระดูก
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
ข้อควรระวัง
ไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตกเกิดการแพร่กระจาย
มะเร็งไต หมายถึง ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต คลำได้ที่หน้าท้อง มักจะเป็นไตข้างใดข้างหนึ่ง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lympnode
ชนิดมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน(Non-HodgkinLymphoma) อาการจะเร็วและรุนแรง มาโรงพยาบาลเมื่อมีการกระจายไปทั่วร่างกายแล้ว อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma มีลักษณะพิเศษ คือ มีต้นกาเนิดมาจาก B-cell( B lymphocyte) มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma) ต่อมน้ำเหลืองโตเป็นปี ไม่ปวดมีลักษณะเฉพาะคือ พบ Reed-Sternberg cell ไม่มีในมะเร็งชนิดอื่น
ระบบน้ำเหลือง (Lymphoma System) เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน
ประกอบด้วย
ไขกระดูก
ต่อมทอนซิน
ม้าม
ต่อมไทมัส
อวัยวะเหล่านี้มีน้ำเหลืองไว้นำอาหารและเม็ดเลือดขาวไปทั่วร่างกาย
การวินิจฉัย
ตัดชิ้นเนื้อ Biopsy
ตรวจไขกระดูก
CT scan
MRI
ตรวจกระดูก (Bone scan)
การตรวจ PET scan
อาการแสดง
อาการระยะเริ่มต้น
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้าเหลืองในระบบประสาท)
คลำพบก้อน ไม่เจ็บ
อาการระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
แน่นท้อง ท้องโตขึ้นมีน้ำในช่องท้อง
แนวทางการรักษาปัจจุบัน
ใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี (Radiation Therapy) ทำลายเซลล์มะเร็ง
ปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (Transplantation)
มี4ประเภทคือ
2) มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Lymphoma)
3) มะเร็งไต (Wilm Tumor หรือ Neuroblastoma)
1) มะเร็งเม็ดเลือดขาว ALL (Acute lymphoblastic leaukemia)
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
2.ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดร่วมกัน
เป็นการทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้รักษา
Metrotrexate, 6 – MP
Cyclophosephamide
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
มักมีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้งในคนที่มีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ:
ยาที่ใช้รักษา
Metrotrexate,
Hydrocortisone
ARA–C
1)ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
มีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด
ระยะนี้ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
เป็นการให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาสั้นมากที่สุด
ยาที่ใช้รักษา
Vincristine
Adriamycin
L – Asparaginase
Glucocorticoid
4.ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or continuation therapy)
เป็นการให้ยาเพื่อควบคุมและรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่ใช้รักษา
ยาที่นิยม 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
เป็นการรักษาโรคแทรกซ้อน และอาการข้างเคียงจากการให้ยา
แบ่งได้ 2 ชนิด
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
ให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
วิธีนี้จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง
ทางให้ยาเคมีบำบัดมี 3 ทาง
ทางกล้ามเนื้อหลังฉีดระวังเลือดออก (IM)
ทางหลอดเลือดดำ ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือดที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง (IV)
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal (IT)
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Mesna ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
Cytarabine(ARA-C) รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic leukemia (ALL)
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Methotrexate รักษามะเร็ง Acute leukemia
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
Mercaptopurine(6-MP) รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
Cyclophosphamide รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดย
Amikin,Ceftazidime(fortum) ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา รุ่น36|1 เลขที่ 50 รหัสนักศึกษา 612001051