Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU, นางสาวอรณิชา…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
เครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งชี้
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง
ภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบไหลเวียนเลือดในร่างกายผิดปกติ
ชนิดเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator
ไม่ใส่ท่อ
แก้ไขภาวะกรดจากการหายใจ
ลดอัตราการหายใจ
invasive positive ventilator
ใส่ท่อช่วย
เป็นการอัดอากาศเข้าไปในปอด
ผ่าน
Endotracheal tube
Tracheostomy
ภาวะแทรกซ้อน
มีผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนของเลือด
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจ
ภาวะถุงลมปอดแตก
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
ภาวะปอดแฟบ
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพิษจากออกซิเจน
ระบบทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
การพยาบาล
ดูแลด้านจิตใจ
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปาก
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
ดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เกณฑ์การถอด
สามารถหายใจผ่าน T piece 10ลิตร/นาที เกิน 2 ชั่วโมงได้
สามารถขับเสมหะออกมาได้แรงพ้นท่อช่วยหายใจ
รู้สึกตัวดี GCS มากกว่า 10 คะแนน
ประเมิน Cuff leak test ผ่าน
แพทย์พิจารณาให้ถอด
วิธีการถอด
จัดท่านั่งศีรษะสูง
ดูดเสมหะในปากและในท่อช่วยหายใจให้โล่ง
แกะพลาสเตอร์ที่ยึดท่อช่วยหายใจ
เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจออกให้หมด
ให้ผู้ป่วยกลั้นหายใจ ค่อยๆดึงท่อช่วยหายใจออกและให้ผู้ป่วยไอขับเสมหะออก
ให้ออกซิเจน mask with collegiate 10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมง
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาที และ ทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าจะคงที่
เฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
สายสวนหลอดเลือด
การวัดความดันทางหลอดเลือดแดง
ข้อบ่งชี้
ในรายที่จำเป็นต้องตรวจ Arterial blood gas
ผู้ป่วยที่ใช้ Inotropic drugs และ Vasoactive drug
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดมาก
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก
ผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนเลือดลดลง หรือความดันต่ำ
การพยาบาล
ตรวจสอบความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
ดูแลระบบ arterial line
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ป้องกันการติดเชื้อ
ตรวจสอบข้อต่างๆให้แน่นสม่ำเสมอ
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure
การวัดความดันทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
ข้อบ่งชี้
ในผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
ในกรณีต้องการประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด
กาารพยาบาล
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
ป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือด
ยาที่ใช้บ่อย
Trachyarrhythmia
Adenosine
ภาวะ Unstable narrow complex regular tachycardia
ภาวะ regular monomorphic wide complex trachycardia
First line dugs: ภาวะ Stable narrow complex tachycardia (reentry SVT)
Digoxin
Heart failure
Atrail fibrillation
Atrial flutter
Supraventricular trachycardia (SVT)
Vasopressor
Dopamine
ปานกลาง: เพิ่ม Cardiac output
สูง: เพิ่มความดันและอัตราการเต้นหัวใจ รักษาภาวะ Shock จากการติดเชื้อในกระแสเลือด
ต่ำ: เพิ่ม renal blood flow
Dobutamine
เพิ่ม Cardiac output ในผู้ป่วยหัวใจวาย
Cardiogenic shock
Norepinephrine
Septic shock
Cardiogenic shock
Shock หลังจากได้รับสารน้ำเพียงพอแล้ว
Bradyarrhythmia
Atropine
แก้ไขหัวใจเต้นช้าผิดปกติ AV block
การพยาบาล
ติดตาม Monitor EKG
ไม่ควรให้ถ้า HR ต่ำกว่า 60 ครั้ง/นาที
Vasodilators
sodium nitroprusside
ยับยั้ง Excitation-contraction coupling
ของผนังหลอดเลือดแดง (Vascular smooth muscle)
Nicardipine
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypertensive crisis
Pulseless
Epinephrine หรือ Adrenaline
ใช้ในภาวะ Symptomatic bradycardia
Cardiac arrest
เป็นยาตัวแรกที่ในการทำ CPR
Amiodarone
Atrial flutter
Atrail fibrillation
Ventricular fibrillation
Ventricular tachycardia
นางสาวอรณิชา ไชยชนะดวงดี 6001210255 Sec.B เลขที่ 11