Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ปวยชื่อนายจอหน์ ฟอบส์ แนช จูเนียร์(Mr. John F0rbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่ออลิเซีย และมีบุตรสาว1คน
มีน้องสาว1คน
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสม
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
พัฒนาการตามช่วงวัย
ในช่วงวัยเด็ก
ในช่วงวัยรุ่น
ในช่วงเรียน(ปริญญาเอก)
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
ประสาทหลอน
ควบคุมตนเองไม่ได้
ไม่ชอบเข้าสังคม
อาการแสดงออกด้านบุคลิกภาพภายนอก
การรักษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ข้อบ่งชี้ในการรักษา
1.โรคอารมณ์ซึมเศร้าอย่างรุนแรง ( Severe Depression) มีความคิดฆ่าตัวตาย (Suicidal Idea) และเคยพยายามฆ่าตวั ตายแต่ไม่สาเร็จ
3.อาการแมเนียที่รุนแรง ( Severe Mania)
6.โรคจิตเภทที่รักษาด้วยยาและไม่ได้ผล
7.โรคจิตที่เกิดจากความพิการทางสมอง ( Organic Brain Syndrome Psychosis) ที่มี อาการวุ่นวายมากจนอาจขาดอาหารและนำ้
8.ผู้ป่วยบางรายที่มีอาการเป็นพิษจากยารักษาโรคจิต
4.โรคจิตที่มีอาการรุนแรง ( Severe Psychosis)
5.โรคจิตอื่นๆที่ไม่สามารถตรวจหาพยาธิสภาพในสมองได้
ระยะเวลาในการรักษา
จานวนคร้ังและระยะเวลาของการรักษาของแต่ละคนไม่เท่ากัน ส่วนมากจะทาการรักษา 6 – 12 ครั้ง ซึ่งจำนวนคร้ังอาจมากกว่าหรือน้อยกว่า 6 – 12 ครั้ง
ชนิดของการรักษาด้วยไฟฟ้า
การรักษาด้วยไฟฟ้าแบบUnmodified
การรักษาด้วยไฟฟ้าโดยไม่ได้ใช้ยานาสลบ
การรักษาด้วยไฟฟ้าแบบModified
การรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยานาสลบ
การพยาบาลหลังรักษาด้วยไฟฟ้า
จัดท่านอนราบ/ตะแคง วัดชีพจรทุกๆ 15 นาทีใน 1 ชั่วโมง หากมี อะไรผิดปกติให้รายงานแพทย์
สังเกตอาการและกันการเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากจะมีอาการมึนงง สับสน ให้นอนหนุนหมอนได้
ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย ของผู้ป่วยไม่มีการรับรู้และการทรงตัวที่ดีขึ้นคอยช่วยเหลือจนกว่าผู้ป่วยจะได้เข้าร่วมกิจกรรมบำบัดได้ตามปกติ
สังเกตุอาการแทรกซ้อนเช่นปวดศีรษะปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหรือสับสนถ้ามีอาการผิดปกติต้องรายงานแพทย์
สังเกตพฤติกรรมและอาการอย่างต่อเนื่องรวมทั้งบุคลิกภาพและการเปลี่ยนแปลง สนับสนุนให้รับการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมในสภาพเป็นจริง ฟื้นฟูความจำให้ใหม่โดย โดย Reorientation และ Re Education ลดความวิตกกังวลอธิบายให้ญาติทราบว่าอาการมันงงสับสนจะค่อยๆกลับมาเป็นปกติภายใน3-6สัปดาห์
บับันทึกอาการของผู้ป่วยหลังได้รับการรักษาทุกครั้งและรายงานแพทย์ให้ทราบก็รณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อน
เปิเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลจากการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
ผลข้างเคียง
หลังทำการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้าระยะยาวพบว่าอาจมีความจำบกพร่องชนิด Retrograde Amnesia ในช่วงเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาลหรือผู้ป่วยเองอาจรู้สึกว่าตนเองหลงลืม (Amnesia) คิดช้าลงซึ่งผู้ป่วยมักคิดว่าสมองถูกทำลายจากการทำการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า แต่อาการเหล่านี้อาจเป็นผลมาจากการเจ็บป่วยที่ยาวนานร่วมด้วย
1.ในระหว่างการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้าในระหว่างการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วยพบว่ามีความดันโลหิตไม่สม่ำเสมอหรือสูงหัวใจเต้นผิดปกติอาจช้าลงหรือเร็วกว่าปกติ นอกจากนี้อาจเกิดอาการ ชักนานเกินไปโดยการจับกรามหรือหยุดหายใจเป็นเวลานาน
2.โรคจิตเภทชนิดที่มีอาการคลั่ง( Affective Type) หรือซึมเฉย (Catatonic Type) ตลอดเวลาจะทาให้ขาดสารอาหารและน้าซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวติได้
การคาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง (Schyzophrenia paranoid)
Paranoid type ผู้ป่วยหมกมุ่นอยู่กับความคิดหลงผิด (delusion) หนึ่งอย่างหรือมากกว่าร่วมกับอาจจะมีอาการหูแว่ว (auditory hallucination) ร่วมด้วยโดยส่วนใหญ่ delusion ในผู้ป่วยประเภทนี้มักจะเกี่ยวกับความหวาดระแวง (persecutory delusion) และความว่าตัวเองยิ่งใหญ่พิเศษกว่าคนอื่น ๆ (grandeur delusion) ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะมี onset ที่ช้ากว่ากลุ่มอื่น ๆ ทำให้ผู้ป่วยสามารถสร้างสังคมและหน้าที่การงานได้พอสมควรและผู้ป่วยมักจะยังมี ego resource ที่ค่อนข้างดีผู้ป่วยจึงมักจะมีความถดถอยทางความสามารถไม่มากมีการตอบโต้ทางอารมณ์และมีพฤติกรรมที่ค่อนข้างดีกว่ากลุ่มๆ
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
กลัวอย่างหรือวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ในสังคมซึ่งผู้ป่วยจะรู้สึกถูกเฝ้ามองจากบุคคลอื่น ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเช่นการพบปะสนทนาการรับประทานอาหารการกล่าวคำปราศรัย
บุคคลกลัวว่าตนเองจะแสดงวิธีหรือแสดงอาการวิตกกังวลซึ่งจะถูกประเมินภาพลบเช่นความอัปยศอดสูหรือความน่าอายซึ่งจะนำไปสู่การปฏิเสธหรือไม่พอใจจากบุคคลอื่น
สถานการณ์ทางสังคมจะเป็นสาเหตุให้เกิดความกลัวและความวิตกกังวล•ข้อสังเกตในเด็กความกลัวหรือวิตกกังวลอาจแสดงโดยการร้องไห้การออกฤทธิ์ (Tantrum) ตัวแข็งทือการทำตัวลีบหรือการพูดไม่ออก
หลีกเลี่ยงสถานการณ์ในสังคมหรืออดทนต่อความกลัวหรือความวิตกกังวลอย่างมาก
ความกลัวหรือความวิตกกังวลไม่ใช่การถูกคุกคามจากสถานการณ์สังคมและจากบริบททางสังคมวัฒนธรรม
ความกลัวความวิตกกังวลหรือการหลีกเลี่ยงต้องเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป
ความกลัวหรือความวิตกกังวลหรือการหลีกเลี่ยงเป็นสาเหตุการเจ็บปวดทางคลินิกหรือความบกพร่องในการใช้ชีวิตในสังคมการประกอบอาชีพหรือการปฏิบัติหน้าที่ที่สำคัญอื่น ๆ ในชีวิต
โรคอาการประสาทหลอน (Hallucination)
คือการที่ผู้ป่วยมีการรับรู้(Perception)โดยไม่มีสิ่งเร้า(no stimuli) เช่นAuditory hallucination หูแว่ว ได้ยินเสียงแว่ว
อาจพบลักษณะของแว่วเป็นแบบ voice commenting คือเสียงนั้นวิพากษ์วิจารณ์การกระทำของผู้ป่วยหรือ
voice discussion เป็นเสียงสองเสียงคุยกันเป็นเรื่องราว
Visual hallucination เห็นภาพหลอน
Tactile hallucination สัมผัสหลอน
Olfactory hallucination ได้กลิ่นที่ไม่มีจริง
Gustatory hallucination ได้รสสัมผัสทางลิ้นที่ไม่มีจริง
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
เกณฑ์วินิจฉัย DSM-5
A. มีอาการต่อไปนี้ต้ังแต่2อาการขึ้นไปนาน1เดือนโดยอย่างน้อยต้องมีอาการในข้อ1-3อยู่1อาการ
(1) อาการหลงผิด
(2) อาการประสาทหลอน
(3) การพูดอย่างไม่มีระเบียบแบบแผน (การพูดในลักษณะที่หัวข้อ วลี หรือประโยคที่กล่าวออกมา ไม่สัมพันธ์กัน)
(4) พฤติกรรมที่ไม่มีระเบียบแบบแผนที่คนในสังคมหรือวัฒนธรรมของผู้ป่วยไม่ทําากัน พฤติกรรมการ
เคลื่อนไหวมากเกินไป น้อยเกินไป หรือแปลกประหลาด (catatonic behavior) (5) อาการด้านลบ เช่น สีหน้าทื่อ เฉยเมย แยกตัวจากคนอื่น
B. ระดับความสามารถในด้านสําาคัญๆ เช่น ด้านการทําางาน การมีสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน หรือการดูแลตนเอง ลดลงไปจากเดิมอย่างชัดเจนอย่างน้อยหนึ่งด้าน
C. มีอาการต่อเนื่องกันนาน6เดือนข้ึนไปโดยต้องมีactivephase(ตามข้อA)อย่างน้อยนาน1เดือน (อาจน้อยกว่าน้ีหากรักษาได้ผล) และรวมช่วงเวลาที่มีอาการในระยะ prodromal หรือ residual phase โดยใน ช่วง prodromal หรือ residual phase อาการท่ีพบอาจเป็นเพียงอาการด้านลบ หรืออาการตามข้อ A ตั้งแต่ 2 อาการ ขึ้นไป แต่แสดงออกแบบเล็กน้อย
D. ต้องแยกโรคจิตอารมณ์โรคซึมเศร้าโรคอารมณ์สองขั้วออก
E. ต้องแยกอาการโรคจิตท่ีเกิดจากโรคทางกายและสารเสพติดออก
F. ผู้ป่วยที่มีประวัติกลุ่มโรคออทิสติก หรือโรคเกี่ยวกับการส่ือสารต้ังแต่วัยเด็ก จะวินิจฉัยโรคจิตเภท
ก็ต่อเมื่อมีอาการหลงผิดหรืออาการประสาทหลอนที่เด่นชัดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน ร่วมด้วย
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตและจิตเวช พ.ศ. 2551
เป็นกฎหมายสาคัญท่ีใช้ในการดูแลบุคคลที่มีความ
ผิดปกติทางจิตที่มีภาวะอันตราย และ/หรือมีความจาเป็นต้องได้รับการรักษา บุคคลที่ต้องได้รับการบำบัดนี้ ได้แก่
มีภาวะอันตราย เช่น ผู้ท่ีมีอาการก้าวร้าว ทาร้ายตนเองและผู้อื่น พกอาวุธ ทาลายข้าวของ เป็นต้น
มีความจาเป็นต้องได้รับการบาบัดรักษา เช่น มีความเจ็บป่วยเกิดข้ึน แต่ไม่ยินยอมเข้ารับการบาบัด รักษา
ขั้นตอนการดำเนินงาน
เจอ: เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 (ผู้ที่มีภาวะอันตราย และ/หรือมีความ จาเป็นต้องได้รับการบาบัดรักษา)
แจ้ง: แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นต้น พนักงานฝ่าย ปกครองเช่น กานันผู้ใหญ่บ้าน
ตรวจ: สถานพยาบาลของรัฐหรือหรือสถานบาบัดรักษาต้องประเมินอาการและวินิจฉัยเบื้องตัน ภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่เวลาท่ีบุคคลน้ันมาถึงสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบาบัดรักษา
ส่ง: ส่งรักษาในสถานบาบัด (โรงพยาบาลจิตเวช) เมื่อผู้ปว่ ยจาเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและการ ประเมินอาการโตยละเอียด ภายใน 30 วันหลังรับไว้