Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind, image, image, นางสาวณิชาภัทร ขัติยะ…
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
มีคนสะกดรอยตาม
คิดไปเองว่าคนๆนันมีตัวตน
คิดว่าจะมีคนมาทําร้ายตน
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทําร้ายตนเอง
ทำร้ายคนรอบข้างเเบบไม่รู้ตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ชอบเก็บตัว ชอบอยูค่นเดียว
ไม่มีเพื่อน
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
สีหน้าวิตกกังวล หวาดระเเวงตลอดเวลา
พูดตะกุกตะกัก ไม่ชัดเจน
การรับรู้ผิดปกติ
คิดว่าตนเองเป็นสายลับ
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนตัว
ผู้ปวยชื่อ นายจอหน์ ฟอบส์ แนช จูเนียร(์Mr. John F0rbes Nash, Jr. ) อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมรกัน สัญชาติอเมริกัน
ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
มีความคิดหมกหมุ่นเกือบทําร้ายภรรยาและลูก
มีพฤติกรรมที่แปลกๆ
ประวัติภายในครอบครัว
มีน้องสาว1คน มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกด้วยกัน 1 คน
พัฒนาแต่ละช่วงวัย
ในช่วงวัยเด็ก
ผู้ปวยเป็นเด็กเรียนเก่ง ชอบทําอะไรด้วยตนเองแต่เป็นคนเก็บตัว
ไม่มีเพือนสนิทและมักมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพือน
ในช่วงวัยรุ่น
สนใจทางด้านคณิตศาสตรแ์ละมีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
มุ่งมั่นในการเรียนจนจบปรญิญาโททางด้านคณิตศาสตร์ ด้วยอายุเพียง 20 ปี
ยังคงเป็นคนเก็บตัวและไม่มีเพือนสนิท
เรียนปริญญาเอกทีมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
มีความคิดว่านักคณิตศาสตร์มีความสําคัญต่ออนาคตของอเมริกา
มีเพือนร่วมมหาวิทยาลัยและเพือนร่วมห้องพัก
หลังจบปริญญาเอก
แต่งงานกับแฟนสาว
ทํางานที่วิลเลอร์แลปส์และงานสายลับ
ประเด็นทีสงสัย
ผู้ป่วยรักษายังไง
ในช่วงแรกผู้ปวยได้รับการรักษาด้วยยาแต่เนืองจากผู้ป่วยหยุดยาด้วยตนเองทําให้อาการเกิดการกําเริบอีก จึงได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy)
การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy)
วิธีการรักษาโดยใช้กระแสไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นต่ำผ่านสมองเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดอาการชัก ซึ่งจะส่งผลให้อาการทางจิตดีขึ้น
เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นให้สารสื่อนำประสาทภายในสมองที่หลั่งผิดปกติได้กลับมาทำงานโดยสม่ำเสมอ
ผลข้างเคียงของการรักษา
อาจมีอาการไม่พึงประสงค์ เช่น ปวดศีรษะ
ปวดเมือยกล้ามเนือไม่สบายตัว สับสน สูญเสียความจําชั่วคราว
บางรายมีผลข้างเคียงทีรุนแรงอาจทําให้กระดูกหัก ข้อเคลือน
หรืออาจเสียชวีติได้
ผู้ชายใส่หมวกทีผู้ปวยเห็นคือใคร
เพื่อนร่วมงานที่ทํางานสายลับซึ่งเป็นบุคคลที่ผู้ป่วยคิดไปเองคิดว่ามีตัวตนจริงๆ
ทําไมผู้ปวยไม่กินยาอย่างต่อเนือง
ยาทําให้มีอาการข้างเคียงทางสมองไม่สามารถทํางานได้อย่างเต็มที ความอัจริยะเดิมทีเคยมีหายไป
มีผลต่อสมรรถภาพทางเพศ
ผลข้างเคียงของยา
หลังจากทีได้รับยาผู้ป่วยมักจะมีอาการง่วงนอน กระสับกระส่าย ปวดเมื่อย ตัวสั่น ตาพร่ามัว
พัฒนาการในวัยเด็กส่งผลกระทบหรือไม่
ส่งผล เนื่องจากจากทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ พบว่า เป็นความผิดปกติจาก
พัฒนาการทางบุคลิกภาพของบุคคลในวัยเด็ก
การปรับตัว การควบคุมพฤติกรรม และการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น โดยเฉพาะพัฒนาการด้าน ภาษา สติปัญญา การคิด การจำ การตัดสินใจ ความสนใจ และการรับรู้ ผู้ป่วยอาจมีการรับรู้ และไวต่อความเครียดมากกว่าปกติ
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ความคิดหลงผิด
การมีความเชื่อ หรือความคิดไม่ตรงกับความเป็นจริง เรียกว่า อาการหลงผิด (delusion) ตั้งแต่ 1 เรื่องนานตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป
ระแวงว่าตนถูกกลั่นแกล้ง
ระเเวงว่าถูกปองร้าย
ภาพหลอน
เป็นอาการทางประสาทที่ทำให้เห็นภาพ ได้ยินเสียง ได้กลิ่น รับรู้รสชาติ หรือเกิดความรู้สึก ทั้งที่ในความเป็นจริงไม่มีสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น
ครอบครัวจะมีส่วนช่วยในการรักษาผู้ปวยอย่างไรบ้าง
ช่วยดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอตามแพทยสั่งไม่ควรเพิ่ม หยุด หรือลดยาเอง
หมั่นสังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วย ถ้าพบความผิดปกติ เช่นพูดพร่ำ พูดเพ้อเจ้อ พูดคนเดียว เอะอะ อาละวาด หงุดหงิด ฉุนเฉียวหัวเราะหรือยิ้มคนเดียว เหม่อลอย หลงผิด ประสาทหลอน หวาดกลัวควรรีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที
ถ้าผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ดูสับสน วุ่นวาย ไม่ยอมกินยอมกินยา ไม่ยอมมาพบแพทย ์ญาติควรจะมาติดต่อกับแพทย์เพื่อเล่าอาการของผู้ป่วยให้แพทย์ทราบ
มีญาติคอยดูแล ใช้ครอบครัวบำบัด พร้อมพูดคุยแบ่งปันความรู้สึกแก่กันได้
โรคทีคาดการณ์ว่าจะเป็น
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
อาการของจิตเภท
กรณีศึกษา
สีหน้าวิตกกังวล หวาดระเเวงตลอดเวลา
เห็นภาพหลอน คิดไปเองว่าคนๆนันมีตัวตน
คิดว่าจะมีคนมาทําร้ายตน
พูดตะกุกตะกัก ไม่ชัดเจน
หมกมุ่นกับเรื่องทีสนใจเป็นพิเศษ
คิดทําร้ายตัวเอง
ทฤษฎี
อาการด้านบวก
ประสาทหลอน
ผู้ป่วยอาจมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น รู้สึก หรือรับรสที่ไม่มีอยู่จริง แต่มักเชื่อว่าสิ่งเหล่านั้นมีอยู่จริงซึ่งเกิดจากความคิดของผู้ป่วยเอง
หลงผิด
มักเกิดกับผู้ป่วยโรคนี้โดยส่วนใหญ่ โดยผู้ป่วยอาจเชื่อในสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงหรือไม่มีอยู่จริง
เกิดความผิดปกติทางความคิด
ผู้ป่วยอาจมีกระบวนการคิดหรือการประมวลข้อมูลที่ผิดไปจากปกติหรือไม่เป็นเหตุเป็นผล
มีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว
เคลื่อนไหวร่างกายอย่างตื่นกลัวหรือทำท่าทางแปลก ๆ ออกมา
อาการด้านลบ
แสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์น้อยลง
เคลื่อนไหวน้อยและไม่ค่อยทำอะไร
ปลีกตัวออกจากสังคม
อาการด้านการรับรู้
อาการที่อาจส่งผลต่อกระบวนการคิดและความทรงจำของ
ผู้ป่วย โดยผู้ป่วยอาจมีปัญหาในการจดจ่อ การทำความเข้าใจข้อมูล
สาเหตุของจิตเภท
ทฤษฎี
ด้านพันธุกรรม
ความผิดปกติภายในสมอง และปริมาณสารเคมีในสมองบางชนิดผิดปกติ
ด้านครอบครัว
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ครอบครัวตําหนิ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัวบกพร่อง
กรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาไม่มีข้อมูลทีบ่งบอกถึงสาเหตุของโรคที่ชัดเจน
การวินิจฉัยจิตเภท
แพทย์อาจตรวจเบื้องต้นโดยสอบถามเกี่ยวกับอาการ ภาวะสุขภาพจิต โรคประจำตัว และประวัติสุขภาพของคนในครอบครัว รวมทั้งอาจตรวจร่างกายผู้ป่วยโดยละเอียด
ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan) หรือตรวจเอกซเรย์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (CT Scan)
การรักษาจิตเภท
กรณีศึกษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การใช้ยา
ทฤษฎี
การใช้ยา
การบำบัดเพื่อเสริมทักษะทางสังคม
การบำบัดทางจิต
การบำบัดภายในครอบครัว
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ
การรักษาด้วยไฟฟ้า
วิธีการรักษาโดยใช้กระแสไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นต่ำผ่านสมองเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดอาการชัก ซึ่งจะส่งผลให้อาการทางจิตดีขึ้น
พรบ.สุขภาพจิต
นางสาวณิชาภัทร ขัติยะ เลขที่ 24 ชั้นปีที่ 2 ห้อง B รหัสนักศึกษา 613601132