Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง
ชนิด
Secondary febrile convulsion มีความผิดปกติของสมอง
Primary febrile convulsion ไม่มีความผิดปกติของสมอง
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
กรณีชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักโดยเร็ว ให้ยาระงับอาการ
Diazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
ยาลดไข้ร่วมกับเช็ดตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด
ป้องกันการชัก Phenobarbital, Depakine กินทุกวัน 1-2ปี
โรคลมชัก
ชนิด
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy มีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุ
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อจากสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic and Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้ เช่น ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet คือการจัดอาหารสัดส่วนที่มีปริมาณไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำ
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวัน ห้ามหยุดยาเอง แนะนำวิธีป้องกันอุบัติเหตุขณะชัก
มาตรวจตามนัดเพื่อประเมินอาการและปรับระดับยา
ชักจากการติดเชื้อ
Meningitis
สาเหตุ
เชืื้อแบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อรา
Cerebrospinal fluid test
Pressure
เด็กโต = 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
Red cells ไม่พบ
White cell count ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl (ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
Protein 14-45 mg/dl
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ปวดศีรษะ ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig's sign ได้ผลบวก
Brudzinski's sign ได้ผลบวก
การรักษา
การรักษาเฉพาะ ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลัง
การรรักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยานอนหลับ ยานอนหลับ ยาลดอาการบวมของสอมง ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำรักษาภาวะไม่สมดุลย์อิเล็กโทรไลต์
การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน เช่น Hib vaccine, JE vaccine, BCG
Encepphalitis
สาเหตุ
เชื้อรา
เชื้อปรสิต
เชื้อแบคทีเรีย
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
เชื้อไวรัส
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง
ไข้สูง
ซึมลง ถึงขั้นโคม่าภายใน 24-72 ชม.
ชัก เคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย เพ้อ คลั่ง
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ยาระงับชัก ลดการบวมของสมอง ให้สารน้ำทางหลอดเลือด
รักษาสมดุลน้ำเข้า-ออก
ให้ออกซิเจน เจาะคอ ใช้เครื่องช่วยหายใจ
โรคไข้สมองอักเสบ (JE)
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ต่อไปปวดศีรษะมากขึ้น อาเจียน ง่วงซึมไม่รู้สึกตัว
บางรายอาจมีอาการเกร็งชักกระตุก อาจมีหายใจไม่สม่ำเสมอ
รายที่รุนแรงจะตายวีนที่ 7-9 ของโรค ถ้าพ้นระยะนี้แล้วจะผ่านเข้าสู่ระยะฟื้นตัว มักมีความพิการเหลืออยู่
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัสเจอี จากเลือด หรือน้ำไขสันหลัง พบได้ยาก
ปัจจุบันตรวจหา IgM antibody เฉพาะต่อไวัรส เจอีในน้ำไขสันหลังและในเลือด
การรักษา
รักษาเฉพาะใน Intensive care unit ให้ยาลดไข้ลอดอาการบวมของสมอง ระงับอาการชัก ดูแลทางเดินหายใจให้โบ่ง ดูดเสมหะบ่อยๆ ถ้ามีเสมหะมากอาจต้องทำ tracheostomy บางครั้งจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัดเวลาพลบค่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมูบริเวณใกล้บ้าน
ฉีดวัคซีน
การพยาบาล
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสำลักเสมหะ น้ำลาย ไม่ผูกตรึงผู้ป่วยขณะชักป้องกันกระดูกหัก
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะ
ดูแลให้ได้รับอกซิเจนตามแผนการรักษา
ขณะชักงดอาหาร น้ำทางปาก
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ข้างเตียง
ถเามีไข้สูง ให้เช็ดตัวด้วยน้ำธรรมดา ถ้าไม่ลดให้รายงานแพทย์เพื่อให้ยาลดไข้
ดูแลให้ได้รับยากันชัก ยาคลายกล้ามเนื้อตามแผน
ดูแลให้ได้รับยาระงับอาการชักตามแผน ในรายที่มีอาการชักนาน
ขณะที่ผู้ป่วยชัก ควรป้องกันอันตรายจากการเกิดอุบัติเหตุ
ช่วยแพทย์ในการเตรียมตรวจและส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการตามแผน
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล จัดสิ่งแวดล้อมรอบเตียง
ยกไม้กั้นเตียงหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
สังเกตและบันทึกการชัก ระดับความรู้สึกตัว
บันทึก V/S ทุก 4 ชม.
การให้คำแนะนำ
ให้ความรู้เกีี่ยวกับภาวะโรค
แนะนำวิธีปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีไข้
แนะนำวิธีปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยเกิดอาการชัก
แนะนำการให้ยากันชักและผลข้างเคียง
โรคสมองพิการ
ผู้ที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว จากความผิดปกติของการทำงานสมอง เกิดขึ้นก่อนอายุ 8 ปี มักมีปัญหาการเคลื่อนไหวอวัยวะการหายใจและการพูด
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด
สมองพัฒนาผิดปกิอขณะอยู่ในครรภ์ จากการได้รับอุบัติเหตุหรือติดเชื้อ
ระยะคลอด
เป็นสาเหตุของสทองพิการร้อยละ 30 สมองขาดออกซิเจน ได้รับอันตรายจากการคลอด คลอดยาก รกพันคอ คลอดท่าก้น
ระยะหลังคลอด
เป็นสาเหตุสมองพิการร้อยละ 5 การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ ติดเชื้อบริเวณสมอง การได้รับสารพิษ
อาการและอาการแสดง
อ่อนปวกเปียก หายใจช้าพัฒนาการช้า สำลักง่าย รีเฟล็กซ์ผิดปกติ การเคลื่อนไหวผิดปกติ ภาวะปัญญาอ่อน
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ Diazepam
ทำกายภาพบำบัด
ให้ early stimution เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสีบหายได้พัฒนา
แก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
แก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
ให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวัน ส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะการใช้ส่วนตัวต่างๆตามศักยภาพ
Hydrocephalus ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
ภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณ Ventricle ของสมองและ subarachnoid space การคั่งปริมาณมากทำให้เกิดความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
การวร้างหรือผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ศีรษะโต
กระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติในเด็กเล็ฏที่กระหม่อมยังไม่เปิด
หนังศีรษะบางมองเห็นหลอดเลือดดำที่ใบหน้าหรือศีรษะโป่งตึง
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
อาการแสดงความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตาสองข้างกรอกลงล่าง
ตาพล่ามัวเห็นภาพซ้อน
รีเฟล็กซ์ขาสองข้างไวกว่าปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
พัฒนาการทั่วไปช้า สติปัญญาต่ำกว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
V-P Shunt
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
ปัญหาแทรกซ้อน
obstruction
infection
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลัง
ประเมินอาการความดันในกะโหลกศีรษะสูง
วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30องศา
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
จัดให้นอนบนที่นอนนุ่มๆใช้หมอนนุ่มรองศีรษะไหล่
เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดของผิวหนัง
จัดผ้าปูที่นอนให้เรียบตึง
ตรวจสอบประเมินการเกิดแผลกดทับสม่ำเสมอ
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหารเนื่องจากการสำรอกอาเจียนหรือดูดนมได้น้อย
ดูแลให้ได้รับนมครั้งละน้อยๆ บ่อยครั้ง
ขณะให้นมอุ้มท่าศีรษะสูงเสมอ
หลังไล่นมจับเรอไล่ลม
หลังผ่าตัด
การดูแลแผลผ่าตัด การป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป
นอนราบหลังผ่าตัดใน 24 ชม.แรก
ปัญหาและภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำผ่าตัดสายระบาย
การติดเชื้อสายระบาย
การทำงานผิดปกติของสายระบาย
การอุดตันของสายระบาย
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะเนื่องจากการผ่าตัด
เกิดแผลเป็นที่สมอง
Spina bifida
Myelomeningocele
spina bifida occulta
Meningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบ Alphafetoprotien ในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
ผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากถุงน้ำแตก
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื้น
ตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
ประเมินการติดเชื้อ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
ทำ Crede' manuever ทุก 2-4 hr
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผน
มีกล้ามเนื้อขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองกระตุ้นการเคลื่อนไหวผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขา การควบคุมการขับถ่าย
หลังผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะ
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลทำความสะอาดแผล
ดูแลให้ยา Antibiotic / check V/S
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
วัด V/S ทุก 2-4 hr
เฝ้าระวังและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือแผลติดเชื้อและ hydrocephalus
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวัน
บริหารแขนขา เปลี่ยนท่าบ่อยๆ
Down's syndrome
กลุ่มอาการดาวน์
เป็นความผิดปกติมางโครโมโซมคู่ที่ 21 และเป็นสาเหตุที่พบบ่อยในกลุ่มโรคทางพันธุกรรม
โอกาสเสี่ยงสูงถ้ามารดาอายุมากกว่า 30 ปี
บิดามารดามีโครโมโซมผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หัวแบนกว้าง
คอสั้น ผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมาก
หูอยู่ต่ำ
brush field spot
ปากอ้า ลิ้นมักยื่น มีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างสั้น
นิ้วก้อยโค้งงอ
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา
หัวใจพิการแต่กำเนิด
การรักษา
กระตุ้น ส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย
รักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Guillain Barre's Syndrome
กลุ่มอาการที่เกิดจากการอักเสบของปลายประสาทหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลันหลังการติดเชื้อในร่างกาย
สาเหต
ภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ ทำให้ไขสันหลังไม่สามารถติดต่อสั่งงานมายังกล้ามเนื้อได้อย่างปกติ
อาการการแสดง
เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ ปวดอวัยวะส่วนปลาย
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีการอัมพาตของหน้า
medulla oblongata ทำงานผิดปกติร่วใกับระบบประสาทอัตโนมัติ
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วย IVIG
การพยาบาล
วัด V/S โดยเฉพาะ R
ให้ออกซิเจน
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว การรับรู้สัมผัส
ดูแลการขาดสารอาหาร
สังเกตการปวดตามหล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ
นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1 เลขที่4 612001004