Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion (ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secondary febrile convulsion (มีความผิดปกติของสมอง)
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
กรณีที่มีการชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับอาการชัก เช่น diazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
2.ให้ยาลดไข้ ร่วมกับ เช่น ตัวลดไข้ (เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน)
ระยะหลังชัก
1.ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชักรับประทานทุกวันนาน 1-2 ปี เช่น Phenobarbital , Depakine
โรคลมชัก (Epilepsy)
แบ่งชนิดตามลักษณะอาการชัก 2 ชนิด
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy มีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิด
ปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้ เช่น ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet คือการจัดอาหารสัดส่วนที่มีปริมาณ
ไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ปกครองคือ
คำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ปกครองคือ
มาตรวจตามนัดเพื่อแพทย์ประเมินอาการและปรับระดับยากันชักให้เหมาะสม
ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อสมอง
Meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา (Fungal memingitis)
Cerebrospinal fluid test
Pressure
เด็กโต = 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
Red cells ไม่พบ
White cell count ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl(ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
Protein 14-45 mg/dl
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ เช่น มีไข้
ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงของการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง คือ
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา
การรักษาเฉพาะ คือ ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำ
ไขสันหลังที่เป็นสาเหตุ
ให้ยาลดไข้ ให้ยานอนหลับ ให้ยากันชัก ให้ยาลดอาการบวมของสมอง ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำรักษาภาวะไม่สมดุล
อาจต้องเจาะคอหรือใช้เครื่องช่วยหายใจในรายที่มีปัญหาการหายใจหรือหมดสติ
การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน เช่น Hib vaccine , JE vaccine,BCG
Encephalitis สมองอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปาราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน เช่น วัคซีนป้องกันโรคไอกรน หรือวัคซีนป้องกัน
พิษสุนัขบ้า
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง (Stiffness of neck)
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง นอนหลับ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า – ออกของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบ Japanese encephalitis (JE)
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขึ้น
อาการอาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว บางรายอาจมีอาการเกร็งชักกระตุก
ด้วย
อาจมีอาการหายใจไม่สม่ำเสมอ ในรายที่เป็นรุนแรงมากจะ
ถึงแก่กรรมประมาณวันที่ 7-9 ของโรค
ถ้าพ้นระยะนี้แล้วจะผ่านเข้าระยะฟื้นตัว และมักจะมีความพิการเหลืออยู่
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือด หรือน้ำไขสันหลัง
การวินิจฉัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบันคือตรวจหา IgM antibody เฉพาะต่อไวรัส เจอี ในน้ำไขสันหลังและในเลือด
การรักษา
ต้องให้การดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit ให้ยาลดไข้
ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะบ่อยๆ
ถ้ามีเสมหะมากอาจต้องทำtracheostomy บางครั้งจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกัน
1) หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ยุงนี้จะกัดเวลาพลบค่ำ
2) ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
3) ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง ครั้งแรกเมื่ออายุ 1 ปีครึ่ง
ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 2-4 wk แล้วฉีดครั้งที่ 3 หลังจากฉีดเข็มที่ 2 ได้ 1 ปี ควรจะเริ่มให้วัคซีนนี้พร้อมกับการให้ booster dose DTP และ OPV