Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A beautiful mind, นางสาวอัจฉราพรรณ พิมพ์ศรี เลขที่ 93 ห้อง 2A…
ภาพยนต์สั้น A beautiful mind
สาเหตุ
ด้านร่างกายและพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ผิดปกติและจากโครงสร้าง ของสมอง
ด้านจิตใจ
ความเครียดในชีวิตประจำวัน
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
การสูญเสียและการไม่ได้รับการยอมรับ
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจํา
ด้านสังคม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
มีปัญหาในการเข้าสังคม
ครอบครัว
ความสัมพันธในครอบครัวไม่ดี
ครอบครัวกดดัน
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
อายุ 24ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
์ชื่อผู้ป่วยMr. John F0rbes Nash, Jr.
ประวิติครอบครัว
ภรรยาชื่อ อลิเซีย
มีลูก 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกหมุ่นกับสิ่งใดสิ่ง 1มากเกินไป
ไม่สามารถช่วยเหลือภรรยาได้ช่วงที่ป่วย
ผู้ป่วยเป็นคนเก้บตัว
ไม่อยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ประเด็นที่สงสัย
ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยา ควรได้รับยาชนิดใด
พัฒนาการและประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลกระทบหรือไม่
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยคนในครอบครัว
ผลข้างเคียงของการรักษามีอะไรบ้าง
คาดการณโรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง(Schyzophrenia paranoid
การวินิจฉัย
มีความหลงผิดว่าตนถูกปองร้าย หรือหลงผิดว่าคู่สมรสนอกใจฝังแน่นอยู่
อารมณ์และพฤติกรรมสอดคล้องกับความหลงผิดนั้น
มักไม่มีอาการประสาทหลอนอย่างชัดเจน
ไม่มีสาเหตุทางร่างกาย
อาการ
ขาดความมั่นใจในตนเอง มักเป็นคนไม่ยืดหยุ่น ผ่อนปรน
ระมัดระวังจนเกินไป มักจะโต้แย้งกับผู้อื่นแรงๆ และขาดเหตุผล
ขาดความไว้วางใจสิ่งแวดล้อม
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
อาการ
ความเข้าใจผิดในบางเรื่องเป็นเวลามากกว่า 1 เดือน
ดูปกติและไม่มีพฤติกรรมที่แปลกประหลาด
แบ่งได้หลายประเภท
Somatic Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง
Erotomantic Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักหรือเป็นคู่รักของตนเอง
Grandiose Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าตนมีความสามารถเกินความจริง
Jealous Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าคู่รักของตนนอกใจ
Persecutory Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าถูกปองร้าย
Mixed Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดแบบผสม ผู้ป่วยจะมีอาการหลงผิดมากกว่า 1 อาการข้างต้น
Unspecified Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดแบบไม่ระบุเจาะจง
โรคจิตเภท(schizophrenia)
ลักษณะอาการทางคลนิก
แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม
กลุ่ม อาการด้านลบ (Negative Symptoms)
Alogia พูดน้อย เนื้อหาที่พูดมีน้อย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ
Affective flattening การแสดงออกทางด้านอารมณ์ลดลงมาก
Avolition ขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชาลง
Asociality เก็บตัวเฉย ๆ ไม่ค่อยแสดงออก
. กลุ่มอาการด้านบวก (Positive Symptoms)
Psychotic dimension ได้แก่อาการหลงผิด และอาการประสาทหลอน
Disorganization dimension ได้แก่ disorganized behavior และ disorganized speech
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
สาเหตุ
ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง โดยเฉพาะ Norepinephrine/Dopamine
ปัจจัยทางประสบการณ์ชีวิตด้านลบ
เกิดได้จากทั้งปัจจัยทางพันธุกรรม
อาการ
ประหม่าเมื่ออยู่ต่อหน้าคนจำนวนมาก
รุนแรงจนเกิดอาการเครียด อึดอัด มีความคิดและพฤติกรรมไม่เหมาะสม
พยายามหลีกหนีจากสภาพนั้น จนเกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยยา เพื่อควบคุมอาการและลดการกำเริบซ้ำของโรค
ยาฉีด
ยารับประทาน
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ข้อบ่งใช้สำคัญในการรักษา
มีประวัติรักษาด้วยยาแล้วไม่ได้ผล
ต้องการให้อาการหายเร็วและแน่นอน
การทำจิตบำบัด
โดยผู้เชี่ยวชาญพูดคุยกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและปัญหาของตนเองมากขึ้น
ครอบครัวบำบัด
แพทย์เป็นผู้ให้ความรู้ในเรื่องโรคและสิ่งที่ญาติควรปฏิบัติต่อผู้ป่วย กลุ่มบำบัด เป็นการจัดกิจกรรมกลุ่มระหว่างผุ้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีเพื่อนคอยสนับสนุนให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนทําร้าย
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยิน เสียงคน
มโนภาพที่อยากให้มีขึ้นมาเอง
ควบคุมตนเองไม่ได
ทําร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
หมกหมุ่กหมุนกับสิ่งเดียวอยู่คนเดียว
ไม่ชอบการเข้าสังคม
เกณฑ์การวินิจฉัย
วินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM-IV
จะใช้เกณฑ์อาการและอาการแสดงออกทางจิตที่เป็นอาการเฉพาะของผู้ป่วยจิตเภท เกณฑ์ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน เกณฑ์ด้านการสังคม เกณฑ์ด้านระยะวลาที่เกิดอาการ และต้องแยกแยะให้ได้ว่าอาการทางจิตที่เกิดไม่ใช่อาการที่เกิดจากความผิดปกติด้านอารมณ์หรือการได้รับสารพิษ
วินิจฉัยตามเกณฑ์ ICD-10
จำแนกเป็นกลุ่มอาการโดยมีเหตุผลของการจำแนกว่า เพื่อความสะดวกในทางปฏิบัติ และง่ายในการวินิจฉัย กลุ่มอาการของความแปรปรวนจิตเภทได้แก่ อาการผิดปกติคนความคิด อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน การพูดไม่สอดคล้อง พฤติกรรมคงรูปแบบเดิม อาการด้านอารมณ์ที่เรียกว่าอาการค้นเนทกาทีฟ และพฤติกรรมทั่วไปเปลี่ยนไปจากเดิม
โรคจิตเภท(schizophrenia)กับการเปรียบเทียบ
ครอบครัวและคนรอบข้างรู้สึกว่าผู้ป่วยเปลี่ยนไปจากบุคลิกภาพเดิม
ผู้ป่วยแยกตัว ไม่อยากสุงสิงกับใครมีอาการ ระแวงคนอื่น
ผู้ป่วยไม่สามารถรับผิดชอบหน้าที่การงานได้เหมือน ปกติ ค่อยๆ หมดความสนใจ สิ่งต่างๆ รอบตัว
ผู้ป่วยคิดว่าคนอื่นจะมาทำร้าย ระแวงว่าตนจะถูกทำร้าย
ผู้ป่วยได้ยินเสียงคนมาพูดด้วยทั้งๆ ที่ไม่มีใครพูดด้วย (หูแว่ว)
ผู้ป่วยเห็นภาพหลอน
กฎหมายที่เกี่ยวกับเคส
ประมวลกฎหมายอาญา (ป.อาญา) มาตรา 65 เปิดช่องสำหรับการไม่ลงโทษหรือลดโทษให้ผู้ที่กระทำความผิดเพราะมีจิตไม่ปกติ โดยมีหลักว่า ผู้ใดกระทำความผิด ในขณะที่ไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่อง ไม่ต้องรับโทษ
(พ.ร.บ.) สุขภาพจิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562การส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพจิต ควบคุมปัจจัยคุกคามด้านสุขภาพจิต ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยให้ได้รับการคุ้มครองจากการเผยแพร่ข้อมูลใดๆ ในสื่อทุกประเภท
นางสาวอัจฉราพรรณ พิมพ์ศรี เลขที่ 93 ห้อง 2A รหัส 613601099