Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Delirium, สมาชิกในกลุ่ม, เอกสารอ้างอิง, ภาวะสับสนเฉียบพลัน :check:, images…
Delirium
-
หมายถึง
อาการความคิดความจำ และ พฤติกรรมที่ผิดปกติที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันภายในระยะเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน
-
อาการแสดงจะออกมาในรูปแบบที่ไม่สามารถรับข้อมูลที่เป็นปัจจุบันคิดวางแผนจัดการสิ่งต่างๆไม่ได้และระลึกข้อมูลหรือความรู้เดิมที่เคยมีไม่ได้
อาการของ delirium จะเปลี่ยนแปลงสลับกันระหว่างดีและไม่ดีในระหว่างวันส่วนใหญ่ความผิดปกติมักเกิดขึ้นในช่วงเย็นหัวค่ำจนถึงกลางคืนผู้ ป่วยมักรู้ตัวและรับรู้สภาพแวดล้อมได้ดีในช่วงเช้าและกลางวัน แต่เริ่มสับสนจนถึงขั้นกระสับกระส่ายอาละวาดในช่วงเย็นถึงกลางคืน
-
อาการและอาการแสดง
- อาการเกิดขึ้นแบบเฉียบพลันและมีการ
เปลี่ยนแปลงระหว่างวัน (acute onset withfluctuatingcourse) โดยอาการคงอยู่ได้นานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน แต่จะไม่นานเกินสัปดาห์
- อาการขาดสมาธิ(attention deficits)เป็นอาการหลักของdelirium ผู้ป่วยจะขาดความสนใจ ไม่เอาใจใส่ต่อสิ่งกระตุ้นหรือสภาวะแวดล้อมที่สำคัญในขณะนั้นนและถูกดึงความสนใจได้ง่ายจากสิ่งกระตุ้นอื่นๆ ที่แทรกเข้ามา
- สูญเสียกระบวนการคิดแบบเป็นระบบ(disorganized thinking) ผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนจึงทำงานหรือกิจกรรมใดๆให้สำเร็จไม่ได้ ทำงานช้ากว่าปกติมาก
- สูญเสียการรับทราบสภาวะแวดล้อม
(perceptual disturbances) ที่พบบ่อยที่สุดคือ
หลงเวลา ไม่รับรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ที่ตนเองกำลัง
เผชิญอยู่
อาจรุนแรงถึงขั้นหลงผิด
ภาวะประสาทหลอน สามารถพบได้ในผู้ป่วยอายุน้อยและผู้ป่วยที่เริ่มต้นด้วยอาการกระสับกระส่าย กระวนกระวาย ส่วนใหญ่มักเห็นภาพหลอนที่ทำให้เกิดการตกใจกลัวและพยายามต่อสู้หรือวิ่งหนีนำมาซึ่งอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บได้
-
- ความผิดปกติของวงจรการหลับ-ตื่น
(disturbed sleep-wake cycle) เ
- การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมด้าน
การเคลื่อนไหว(alteredpsychomotoractivity)
-
-
-
- ความผิดปกติด้านความคิดความจำ
อื่นๆ
-
-
- ความผิดปกติด้านอารมณ์และ
พฤติกรรม
-
เช่น จากปกติเรียบร้อย เปลี่ยนเป็น
ก้าวร้าว ด่าทอ พูดมาก พูดหยาบคาย หยาบโลน
อารมณ์เปลี่ยนแปลงสลับกันระหว่างกระวน
กระวายอาละวาดและซึมเศร้า
การวินิจฉัยภาวะ delirium
ยึดถือข้อกำหนดของ DiagnosticStatistica lManual of Mental disorders,fift hedition หรือ DSM V ประกอบไปด้วย
- A disturbance in attention (i.e.
reducedabilitytodirect,focus,sustainand
shift attention) and awareness(reduced
orientation to the environment) :เกิดความ
ผิดปกติของความสนใจทั้งไม่ใส่ใจ ไม่มีสมาธิ ไม่
สามารถควบคุมสมาธิหรือความสนใจให้อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เสียสมาธิได้ง่าย และไม่รับทราบ
สภาพแวดล้อมรอบตัว
- The disturbance develops over a
shortperiodof time (usuallyhours to a few days),represents a change from baselineattention and awareness and tends to
fluctuate inseverityduringthe course of a
day :ความผิดปกติเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาสั้นๆ
ตั้งแต่หลายชั่วโมงจนถึงสองถึงสามวันโดยมีการ
แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่แย่ลงของความเอาใจใส่และรับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจนอาการแปรปรวนระหว่างดีสลับกับไม่ดีในแต่ละช่วงเวลาของวัน
- An addition aldisturbance in cognition(e.g. memory deficit, disorientation,
language,visuospatialabilityorperception) เกิดความผิดปกติของความคิดและความจำ เช่น สูญเสียความจำ หลงผิดด้านเวลาและสถานที่และสูญเสียการรับรู้ด้านมิติสัมพันธ์
- The disturbances in criteria 1 and
2 are not better explained by another
preexisting,established or evolving neurocognitive disorder and do not occur in the contex to faseverely reducedlevelof
arousal, such as coma :ความผิดปกติในข้อที่
1 และ 2 ไม่ได้เกิดจากปัญหาความจำเสื่อมที่มีอยู่
เดิม และไม่ได้เกิดขึ้นขณะที่มีการลดลงของระดับ
ความรู้สติ
- There is evidence from the history,physica examination or laboratory findings that the disturbance is a direct physiological consequence of another medical condition, substance intoxication or withdrawalorexposuretoa
toxin,or is because of multiple etiologies:ีหลักฐานจากประวัติการตรวจร่างกาย และผล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันว่าความผิด
ปกติที่เกิดขึ้นนั้นเป็นผลสืบเนื่องจากโรคทางกาย
ต่างๆ การได้รับสารพิษการหยุดยาบางชนิดหรือ
สารเสพติดหรือจากหลายสาเหตุร่วมกัน
-
สมาชิกในกลุ่ม
- นางสาว ชาลิสา เกชฎา เลขที่ 18
- นางสาว ณัชนันท์ หอมไสย เลขที่ 19
- นางสาวณัฐภรณ์ สุขไชย เลขที่ 21
- นางสาวดารุณี คำปิว เลขที่ 22
- นายภิวัตน์ อัสสรัตนเดชากร เลขที่ 68
เอกสารอ้างอิง
ผศ.พญ. กุลธิดา เมธาวศิน หน่วยประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์
Mendez FM, Gershfield DN. Delirium.In: Bradley GW, Daroff RB, Fenichel GM, Jankovic J eds. Neurology in clinical practice The neurological disorders, fourthedition.Philadelphia,PA:Elsevier Inc; 2004.p29-42
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-