Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, periorbital-ecchymosis-pictures…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
:red_flag: ยาเคมีบำบัด :star:
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบเลือด
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ประเมินจากค่า ANC
ภาวะ Leukopenia
ต่ำปานกลาง
ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
ต่ำรุนแรง
ANC ต่ำกว่า 500 เซลล์/ลบ.มม.เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่รุนแรงมากขึ้น ANC ต่ำกว่า 100 เซลล์/ลบ.มม. เสี่ยงต่อการต่อการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบในกระแสเลือด (gram-negative bacteremia)
ต่ำเล็กน้อย
ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม. ผู้ป่วยจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น งดให้ยาเคมีบำบัด
เม็ดเลือดขาวจะ
ต่ำสุดในวันที่ 6-12 หลังได้ยาเคมีบำบัด และจะกลับสู่ภาวะปกติภายใน 21 วัน
เด็กที่มี ANC ต่ำต้องแยก
เด็กไว้ในห้องแยก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เม็ดเลือดแดง
ผู้ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะ Anemia แพทย์จะให้เลือดเมื่อ Hb=8-10gm/dl
เกร็ดเลือดต่ำ
เกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000/mm3 เกิดภาวะเลือดออกง่ายกว่าปกติ
ต่ำกว่า 50,000เซลล์/ลบ.มม.จะมีความเสี่ยงต่อการเกิด
อาการเลือดออกง่ายหยุดยาก
จุดเลือดเล็กๆ ใต้ผิวหนัง หรือมีจ้ำเลือด Ecchymosis
ปัสสาวะมีเลือดปน
ต่ำกว่า 10,000 เซลล์/ลบ.มม. มีโอกาสเกิดเลือดออกในทางเดินอาหารหรือ มีเลือดออกในสมองได้สูง
ทำให้ไขกระดูกผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่างๆได้น้อยลง ต้องตรวจเลือดก่อนให้ยาเคมีบำบัดทุกครั้ง ถ้าผลไม่พร้อมจะงดการให้
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องผูก
รายที่อาเจียนแพทย์จะมีแผนการรักษาให้ยา Onsia (ondansetron) เข้าทางหลอดเลือดดำ
ป้องกันการติดเชื้อในปากโดยบ้วนปากด้วย 0.9%NSS ทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร หรือทุก 2 ชั่วโมงในรายที่มีแผลในปาก
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารโดยทาน Low
Bacterial diet คืออาหารที่สุกสะอาดและปรุงเสร็จใหม่ๆ
ผลต่อระบบผิวหนัง
ผมร่วงหลังจากได้ยา2-3weeks และงอกขึ้นใหม่เมื่อหยุดยา2-3เดือน แต่จะหยาบ หนา ผิวหนังจะคล้ำ แห้ง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การตกตะกอนของยาเคมีบำบัดทำให้กระเพาะ
ปัสสาวะอักเสบ Cystitis ดังนั้นผู้ป่วยจะต้องได้รับน้ำมากพอทางหลอดเลือดดำและทางปาก และต้องปรับ
ปรับให้ปัสสาวะมีฤทธ์เป็นด่าง
ติดตามค่า BUN Cr
ตับ
ตัวตาเหลือง อ่อนเพลีย ปวดชายโครงด้านขวา ท้องโตขึ้นหรือเท้าบวม
ตรวจติดตามโดยการเจาะเลือดดูการทำงานของตับเป็นระยะ
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
3 รับประทานอาหารที่สุกใหม่
4.การดูแลปัญหาซีด
ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะเกิดภาวะแทรกซ้อนคือไขกระดูกถูกกด มีผลทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง ถ้าเม็ดเลือดแดงลดลงผู้ป่วยจะมีภาวะซีด
มีแผนการรักษาให้เลือด(Pack Red Cell) ดูแลและประเมินV/S ก่อนให้เลือดจะให้ยา Pre-med ติดตาม Hct หลังให้เลือดหมดแล้ว4ชม.
เฝ้าระวังภาวะชักจากความดันสูง(HCC syndrome : Hypertensive convalsion cerebral
hemorrhage syndrome)
การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก
เยื่อบุช่องปากถูกทำลายจากยาเคมีบำบัด จึงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย ดูแลความสะอาดด้วยการบ้วนปากโดย 0.9%NSS
เกร็ดเลือดต่eกว่า
50,000 cell/cu.mm จะไม่แปรงฟัน แต่ถ้าเกร็ดเลือดเกินกว่านี้แปรงฟันได้ แต่ต้องใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
สร้างเกร็ดเลือดลดลง เสี่ยงเลือดออกง่ายหยุดยาก แผนการรักษาให้ Platlet concentration หยดแบบ free flow ก่อนให้มียา Pre-med ติดตาม V/S
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT)
เพื่อให้ยาสามารถเข้าไปฆ่าเซลมะเร็งที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง
ยาที่ใช้บ่อยคือ MTX หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมง
เพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง สามารถพลิกตะแคงตัวได้ แต่ห้ามลุก
นอกจากนี้การให้ยาแพทย์จะต้อง นำน้ำไขสันหลังออก
เท่ากับจำนวนยาที่ใส่เข้าไป โดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
โดยยับยั้งการสร้าง Purine ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง
DNA และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับ
หรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (Cross link) ทำให้
เพิ่มจำนวนไม่ได้
Cytarabine(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic
leukemia (ALL)โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนใน
ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมี
ภูมิต้านทานต่ำ
Mesna ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษามะเร็งได้แก่Cyclophosphamide
Ceftazidime(fortum) ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้
หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Amikin ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
:red_flag: มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน (Acute lymphoblastic leaukemia) : ALL :star:
พบบ่อยที่สุดในเด็ก ในอายุ2-5ปี
ความหมาย
มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจาก Stem cell ในไขกระดูก แบ่งตัวผิดปกติ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้ ส่งผลให้เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน (Blast cell) มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง จึงซีด เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เลือดออกและติดเชื้อง่าย
แบ่ง2ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
ส่วนใหญ่พบชนิดนี้
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
(Acute myelogenous leukemia) พบ
ได้ในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
(Chronic lymphocytic leukemia) พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ และมีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
(Acute lymphoblastic leukemia) พบได้ในทุกช่วงอายุ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่แต่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กอายุ2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
(Chronic myelogenous leukemia) พบได้น้อย พบทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL จะมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้มากกว่าคนทั่วไป 2-4เท่า
ฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL โดยเฉพาะเป็นโรคตั้งแต่อายุน้อย จะทำให้ฝาแฝดอีกคนมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้ประมาณ 25%
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALLและ AMLมากกว่าคนปกติ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์(Ionizing radiation) เป็นรังสีที่ใช้ในการตรวจและรักษาในปริมาณสูง
มีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด โดยเฉพาะสารเบนซิน (Benzene) สารฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) คนกลุ่มนี้จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวได้สูงกว่าคนทั่วไป
เกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อม
หรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
อาการ
อาการแรก: เบื่ออาหารน้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย เพราะมีเกร็ดเลือดต่ำ ทำให้เลือดออกง่าย มีจ้ำเขียวตามตัว ประจำเดือนมามากกว่าปกติ
มีเม็ดเลือดขาวปริมาณมากแต่ต่อสู้เชื้อโรคไม่ได้ จึงติดเชื้อง่าย มีไข้
เม็ดเลือดขาวไปสะสมตามอวัยวะต่างๆ ทำให้มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ หรือตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหา Blast cell ของเม็ดเลือดขาว
ยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
:red_flag: มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) :star:
การวินิจฉัย
MRI
ตรวจ Bone scan
CT scan
ตรวจ PET scan
ตรวจไขกระดูก เพื่อประเมินว่ากระจายเข้าไขกระดูกหรือไม่
Biopsy
อาการ
ในระยะเริ่มต้น
คลำพบก้อนที่บริเวณต่างๆ แต่จะไม่มีอาการเจ็บ
ไข้ หนาวสั่น เหงื่อออกกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
ปวดศีรษะ (มะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
ในระยะลุกลาม
ซีด เลือดออกง่าย
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองในช่องท้อง: แน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องโตจากการมีน้ำในช่องท้อง
ความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ทำให้เกิดเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับน้ำเหลือง ได้แก่ ม้าม ไขกระดูก ต่อมทอนซิล ต่อมไทมัส ภายในอวัยวะเหล่านี้ประกอบด้วยน้ำเหลือง มีหน้าที่นำสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาว(Lymphocyte) ไปยังส่วนต่างๆทั่วร่างกาย
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ (Cervical Lympnode)
ชนิด
ฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma) ต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปี ไม่มีอาการเจ็บปวด
พบ Reed-Sternberg cell
นอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma) อาการจะเร็วและรุนแรง อาจมีก้อนในช่องท้อง ช่องอก หรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma มีต้นกำเนิดจาก B-cell มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
การรักษา
การฉายรังสี(Radiation Therapy) คือการรักษาด้วยรังสีปริมาณสูง เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
ใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
:red_flag: มะเร็งไต (Wilm Tumor/Nephroblastoma) :star:
ไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
หมายถึง ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่ และคลำได้ทางหน้าท้อง มักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
:red_flag: Neuroblastoma :star:
อาการ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูก
ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve ได้แก่ ต่อม
หมวกไต(adrenal gland) ในช่องท้อง เป็นต้น
นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ 612001042 รุ่น 36/1 เลขที่ 41