Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of the Endocrine system พยาธิวิทยาระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle…
Pathology of the Endocrine system
พยาธิวิทยาระบบต่อมไร้ท่อ
1.Growth
Hormone disorder
โกรทฮอร์โมน (GH) เป็นpeptide hormone ถูกผลิตขึ้จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary) และมีผลต่อการเจริญเติบโต
ผลที่เกิดจาก GH ในร่างกายมี 2 ชนิดคือ
ผลโดยตรง เกิดจากการที่ GH จับกับ
ตัวรับเซลล์เป้าหมาย
ผลโดยอ้อม GH จะออกฤทธ์ิผ่านโซมาโท
มีดิน (somatomedin) กระตุ้นให้มีการสร้างIGF-1 (Insulin like growth factor-1) ที่ตับ จะไปออกฤทธ์ิที่อวยั วะเป้าหมายเช่นการเจริญเติบโตของกระดูกและเนื้อเยื้อ
2.HypoHyperthyroidism
เป็น hypermetabolic state เกิดจากการเพิ่มระดับ ของ T3 และ T4 ในกระแสเลือดและโดยส่วนใหญ่จะเกิดจากการทำงานเพิ่มมากเกินปกติของต่อมไธรอยด์ทำ ให้มีการเพิ่ม basal metabolic rate,
อาการทางหัวใจเป็นอาการที่พบได้เร็วที่สุดและเป็นอาการที่พบเสมอใน
คนไข้ hyperthyroidism
มี cardiac output เพิ่มข้ึน เนื่องจากหัวใจมีการบีบตัวมากขึ้นและ peripheraltissue ต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น
อาการ หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น และหัวใจโต มักพบหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โดยเฉพาะแบบ atrial fibrillation
Cushing’s Syndrome
กลุ่มอาการซึ่งเป็นผลมาจากการหลั่งมากเกินไปของฮอร์โมน cortisolจากหลายสาเหตุ
3.หน้ากลม มีก้อนหนอกที่หลัง ท้องย้อยห้อย
4.เส้นสีม่วงตามลำตัว มีสิว ผิวบาง
2.หงุดหงิด ซึมเศร้า อารมณ์ฉุนเฉียวง่าย
5.มีลักษณะที่เป็นชายในหญิง (musculinization) เช่น ไม่มีประจำเดือน มีขนตามตัว
1.กล้ามเนื้ออ่อนแรง อ่อนเพลีย ตัวอ้วน แขนขาเล็ก สูญเสียกล้ามเนื้อภาวะกระดูกพรุน
ภูมิต้านทานต่ำ
7.ความดันโลหิตสูง บวม
Diabetes Mellitus
ที่เกิดจากความผิดปกติของการเผา
ผลาญสารอาหาร ทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง(hyperglycemia)
ภาวะภูมิคุ้มกันของตนเองทําลายเบตาเซลล์ของตับอ่อน
เน้ือเยื่อลดการตอบสนองต่ออินซูลิน ส่งผลให้เกิดการลดหรือขาดอินซูลินที่ผลิตจากตับอ่อน
ชนิดของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานชนิดที่ 1(Type 1 diabetes) เกิดจากการขาดอินซูลินซึ่งเป็นผลมาจากการทําลายเบต้า เซลล์ตับอ่อนโดยขบวนการ autoimmune ส่วนใหญ่พบในคนที่อายุน้อยกว่า 30 ปี
โรคเบาหวานชนิดที่2 (Type 2 diabetes) เกิดจากร่างกายมีภาวะด้ืออินซูลินร่วมกับมีการผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ พบในคนอายุมากกวา่ 30 ปี ลักษณะอ้วน
โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจำเพาะเป็นชนิดที่ทราบสาเหตุ เช่น จากยา
ุ
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational DM)
ไม่มีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน (เช่น บิดา-มารดา-พี่-น้อง)
ไม่อยู่ในกลุ่มเช้ือชาติ สัญชาติที่มีความชุกสูงในการเกิดเบาหวาน
อายุน้อยกว่า 25 ปี และน้ำหนักตัวปกติ
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
ระดับ Hemoglobin A1c (HbA1c) ≥ 6.5% หรือ Fasting PlasmaGlucose (FPG) ≥ 126 mg/dL (ตรวจหลังอดอาหารอย่างน้อย 8
ชั่วโมง) ตรวจพบมากกวา่ 1คร้ัง
หรือระดับพลาสมากลูโคส 2 ชั่วโมงหลังดื่มน้ำตาล 75 กรัม ≥ 200
mg/dL
Random plasma glucose ≥ 200 mg/dL ร่วมกบั มีอาการแสดงของโรคเบาหวาน ได้แก่ หิวน้ำมาก ปัสสาวะบ่อยและมาก น้ำหนักตัวลดลง
อาการและอาการแสดง
Hyperglycemia : ระดับกลูโคสในเลือดสูงกวา่ ปกติ
Glucosuria: เลือดที่มีglucoseสูงเมื่อกรองผ่านไต ไตไม่สามารถดูดglucoseกลับได้หมด ทำให้ออกมากับน้ำปัสสาวะ เป็นที่มาของคำว่าเบาหวาน
Polyuria: เนื่องจากมี glucose ในท่อไตมากทำ ให้การดูดน้ำกลับ ได้ไม่มีประสิทธิภาพ จึงปัสสาวะบ่อยข้ึน
Polyphagia: ผู้ป่วยจะกินจุและหิวบ่อย เหมือนภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากInsulin ไม่สามารถนำ glucose เข้าเซลล์/ เซลล์ดื้อต่อ Insulin เซลล์ขาดอาหารและพลังงาน ทำให้ร่างกายต้องสลายสารอาหารอื่นๆ
Endocrine system
ในการควบคุมสมดุลของกระบวนการเผาผลาญ (metabolism) หรือ สมดุลภายในร่างกาย (homeostasis)
Pathologic Mechanism of Endocrine Diseases
พยาธิสภาพโรคของระบบต่อมไร้ท่อ
(2) การขาดฮอร์โมน (hormone deficiency) จากการที่ตัวต่อมไร้ท่อนั้นๆถูกทำลาย
(1.) การมีฮอร์โมนมากเกินไป (hormone excess) ซ่ึงอาจเกิดจากเน้ืองอก,autoimmune disorders และ การได้รับฮอร์โมนปริมาณมากจากภายนอก
(3) ภาวะที่ความ ไวต่อฮอร์โมนลดลง (hormone resistant) ซ่ึงกลุ่มอาการส่วนใหญ่มีสาเหตุจากปัจจัยทางพันธุกรรมที่ทำให้เกิดความ ผิดปกติที่ membranereceptors, nuclear receptors