Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมความคิดบำบัด (Cognitive Behavior Therapy), นายอนวัช โคตบุตโต…
พฤติกรรมความคิดบำบัด
(Cognitive Behavior Therapy)
ทฤษฎีและแนวคิดในการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบจัดกระทำ (Operant
Conditioning)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical
Conditioning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Modeling)
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านความคิด (Cognitive theory)
หลักการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
การปฏิบัติการมุ่งเน้นความร่วมมือของผู้รับการบำบัดอย่างเต็มที่ (Hight degree of mutuality)
ผู้บำบัดจะทำหน้าที่เป็นเพียงผู้ช่วยให้การบำบัดเป็นไปอย่างราบรื่น (facilitative role)
ตัวผู้บำบัดจะแสดงออกถึงความจริงใจ (genuineness) ความอบอุ่น (warmth) ความเข้าใจความเห็นอกเห็นใจ (empathy) และใช้สัมพันธภาพในการบำบัด (therapeutic relationship) อย่างเหมาะสม
การบำบัดมุ่งเน้นผู้รับการบำบัดเป็นศูนย์กลาง (Totally patient centered)
โดยผู้บำบัดจะมองผู้รับการบำบัดว่าเป็นบุคคลหนึ่งซึ่งประสบหรือเผชิญกับปัญหามากกว่าที่จะมองว่าเป็นผู้ที่มีพยาธิสภาพหรือเจ็บป่วยทางจิต
กระบวนการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
ขั้นประเมินพฤติกรรมความคิด (Cognitive Behavioral Assessment)
2.พฤติกรรม (behavior) หมายถึงสิ่งที่บุคคลนั้น ๆ พูดหรือกระทำหรือแสดงออกมาให้เห็น
3.ผลที่ตามมา (consequence) หมายถึงผลที่ตามมาที่บุคคลนั้น ๆ ที่คาดไว้ว่าน่าจะเกิดขึ้น
1.สิ่งที่เกิดขึ้นก่อน (antecedent) หมายถึงสิ่งกระตุ้นหรือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนพฤติกรรมนั้น ๆ
ขั้นปฏิบัติการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
วิธีการลดความวิตกกังวล (Anxiety reduction)
3.การลดความไวการตอบสนองต่อสิ่งที่กลัวอย่างเป็นระบบ (Systematic desensitization)
4.การเผชิญความกลัวสูงสุดในทันที (Flooding)
2.การใช้เครื่องวัดสัญญาณทางชีวภาพ (Bio-feedback)
5.การไม่ให้กระทำพฤติกรรมเพื่อลดความกลัวหรือกังวล
1.การฝึกการผ่อนคลาย (Relaxation training)
วิธีสร้างความคิดที่ถูกต้องขึ้นใหม่ (Cognitive restructuring)
4.การลองให้คาดการณ์ถึงสถานการณ์ที่รุนแรงที่สุด (Decatastrophizing)
5.การเปลี่ยนมุมมองเดิมเป็นมุมมองทางบวก (Reframing)
3.การตรวจสอบทางเลือกอื่นๆ (Examining alternatives)
6.การหยุดความคิด (Thought stopping)
2.การถามถึงหลักฐานยืนยัน (Questioning the evidence)
1.การตรวจสอบความคิดและอารมณ์ความรู้สึก (Monitoring thoughts and feelings )
วิธีการเรียนรู้พฤิกรรมใหม่ (Learning new behavior)
3.การให้เบี้ยอรรถกร (Token economy) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเสริมแรง (reinforcement) ที่นำมาใช้ในผู้รับการบำบัดหรือผู้ป่วยในโรงพยาบา
4.การแสดงบทบาทสมมติ (Role playing) เป็นวิธีการช่วยให้ผู้รับการบำบัดได้มีโอกาสฝึกซ้อมการทำพฤติกรรมที่รู้สึกว่ายากหรือลำบากอาจจะนำเทคนิควิธีการอื่น ๆ มาใช้ร่วมด้วยซึ่ง ได้แก่ การฝึกย้อนกลับบทบาท (role reversal)
2.การปรับแต่งพฤติกรรม (Shaping) เป็นการกระตุ้นให้ผู้รับการบำบัดเกิดพฤติกรรมใหม่ที่ต้องการโดยอาศัยวิธีการเสริมแรง (reinforcement)
5.การฝึกทักษะทางสังคม (Social skills training)อาจจะใช้วิธีการชี้แนะนำแนวทาง (guidance) การแสดงให้เห็น (demonstration) การฝึกปฏิบัติ (practice) และการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback)
1.การเลียนแบบ (Modeling) หมายถึงวิธีการที่ใช้เพื่อสร้างรูปแบบของพฤติกรรมใหม่ที่ต้องการให้เกิดขึ้น
6.การให้สิ่งที่ไม่น่าพึงพอใจ (Aversive therapy) เป็นการช่วยลดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการโดยการให้สิ่งที่ไม่น่าพึงพอใจหลังจากมีพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง
นายอนวัช โคตบุตโต เลขที่ 129 610201134