Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
“A Beautiful Mind”, อ้างอิง เสาวลักษณ์ สุวรรณไมตรี.(2560)…
“A Beautiful Mind”
ประวัติครอบครัว
-
-
ภรรยาชื่อ นางอลิเซีย (Mrs.Alicia) เล่าว่า ผู้ป่วยเป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว มีน้องสาว 1 คน บิดาเป็นวิศวกร มารดาเป็นครูสอนภาษา
ภรรยาเพิ่งทราบเรื่องที่ผู้ป่วยเข้าใจว่าตนเองทำงานเป็นสายลับหลังจากที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาอาการทางจิตแล้ว
-
-
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยเด็ก
-
-
ผู้ป่วยไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการแต่มีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์และทำการทดลองด้วยตนเองตั้งแต่ อายุ 12 ปี
วัยรุ่น
สนใจด้านคณิตศาสตร์และเรียนต่อปริญญาโท ด้วยอายุ 20 ปี ผู้ป่วยเริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด ยังเป็นคนเก็บตัวและไม่มีเพื่อนสนิท
-
เริ่มมีความคิดว่านักคณิตศาสตร์มีความสำคัญต่ออนาคตของอเมริกา และในช่วงเดียวกันนั้น มีเพื่อนชื่อนายชาร์ลส์ เข้ามาทักทายและเป็นเพื่อนร่วมห้องพัก
นายชาร์ลส์มักมาชวนพูดคุยในสถานการณ์ต่างๆ ให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยเสมอ แม้ว่าผู้ป่วยจะเริ่มมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลกๆเพิ่มมากขึ้นก็ตาม
วัยผู้ใหญ่
-
ผู้ป่วยพบว่านายชาร์ลส์ยังมาปรากฏตัว อยู่กับเขาในหลายสถานการณ์ บางครั้งยังมีหลานสาวตามมาด้วย โดยนายชาร์ลส์เป็นเพียงคนเดียวที่ผู้ป่วยสามารถพูดคุยเรื่องราวต่างๆให้ “เพื่อน” คนนี้ฟังได้
-
-
อาการ
Delusion อาการหลงผิด
เป็นความเชื่อในสิ่งที่ไม่เป็นความจริง คือความผิดปกติของความคิด ซึ่งผู้ป่วยมีดวามเชื่อย่างสนิทใจในเรื่องที่ไม่เป็นความจริงไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการใช้หตุผล
Persecutory Delusion
-
การรักษา
ควรเริ่มต้นด้วยการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ป่วยกับผู้รักษา การใช้จิตบำบัดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยขอมรับว่ามีปัญหาในระดับหนึ่งเป็นจุดเริ่มตันที่ดี ที่จะช่วยให้ผู้ป่วยยอมกินยาและรับการรักษาต่อไปยารักษาโรคจิคช่วยลดอาการหลงผิดของผู้ป่วยได้ และมื่อใช้ร่วมกับจิตบำบัด เป็นวิธีการรักษาที่ได้ผลที่สุดในปัจจุบัน
การให้ครอบครัวบำบัด (family therapy) ช่วยให้คนในครอบครัวเกิดความเข้าใจในตัวผู้ป่วยและยอมรับผู้ป่วยมากขึ้น ทำให้สภาพจิตใจของผู้ปวยดีขึ้น ซึ่งป็นประโชน์ในการรักมาผู้ป่วยด้วย
การพยาบาล
- สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับผู้ป้วย เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจในตัวพยาบาล
- รับฟังความคิดเห็นผู้ป้วยโดยไม่ไปตัดสินหรือตำหนิผู้ป่วย
- หลึกสี่ยงการแสดงออกของความไม่เชื่อถือ การขบขัน หรือการสนับสนุนคล้อยตามผู้ป่วย
- ไม่โต้เถียงผู้ป่วยหรือให้เหตุผลว่าความคิดของผู้ป่วยเป็นความคิดที่ผิด
- ในการสนหนากับผู้ป่วยที่มีความคิดที่ผิดปกติ หรือมีความหลงผิด ควรใช้หลักการบอกความจริง
- จัดให้ผู้ป่วยข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมบำบัดในหอผู้ป่วย พื่อให้ผู้ป่วยได้ติดต่อกับสิ่งที่เป็นอยู่จริงจะทำให้ความหลงผิดลดลงได้
- ดูแลผู้ป่วยรับประทานยาตามแผนการรักษาของเเพทย์
-
ประวัติการเจ็บป่วย
2 ปีก่อนมาโรงพยาบาล หลังจบปริญญาเอกได้เข้าทำงานเป็นนักคณิตศาสตร์ ถูกเจ้าหน้าที่กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาเรียกตัวไปช่วยถอดรหัสทางการทหาร ต่อมาเขาถูกติดต่อให้ทำงานเป็นสายลับ มีคนคอยสะกดรอยตามอยู่ตลอดและพยายามจะทำร้าย เขากลัวการถูกทำร้ายมาก 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เห็นคนสะกดรอยตามไปถึงที่ทำงาน รู้สึกกลัวมากจึงวิ่งหนีและถูกนำส่งโรงพยาบาล
-
การรักษา
ด้านร่างกาย
ECT
เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นให้สารสื่อประสาทนำประสาทภายในสมองที่สั่งการผิดปกติได้กลับมาทำงานได้อย่างสม่ำเสมอเมื่อสารสื่อประสาทหลังอย่างต่อเนื่องดีแล้วกระบวนการทำงานทางจิตรวมถึงสภาวะทางอารมณ์ความคิดและความรู้สึกพฤติกรรมต่างๆก็จะกลับสู่สภาวะปกติ
-
การรักษาด้วยยา
Thorazine
-
-
ผลข้างเคียง
กระสับกระส่าย ท้องผูก วิงเวียน ง่วงซึม ปากแห้ง รูม่านตาขยาย อาการสั่นรัวหรือกระตุก คลื่นไส้ น้ำมูกไหล
เหตุผลที่ใช้
ใช้รักษาและควบคุมอาการโรคจิตชนิดคุ้มคลั่งหรือโรคจิตเภท ลดอาการกระสับกระส่าย หวาดระแวง พฤติกรรมก้าวร้าว
Diazepam
-
กลไกการออกฤทธิ์
ตัวยาจะซึมผ่านเข้าไปในสมองและออกฤทธิ์ขัดขวางการทำงานของสารเคมีที่เป็นสารสื่อประสาทที่เรียกว่า GABA (Gamma amino butyric acid) จึงส่งผลให้สมองตอบสนองต่ออาการของโรคไปในทิศทางที่ดีขึ้น
ผลข้างเคียง
ง่วงซึม หรือมีอาการคล้ายเมาค้าง นอนไม่หลับ ฝันร้าย มึนศีรษะ ศีรษะโหวง ๆ ปวดศีรษะ ตามัว มองเห็นภาพไม่ชัดเจน มองเห็นภาพซ้อน ถ้าใช้ยานี้ในขนาดสูงเป็นเวลานาน ๆ อาจทำให้เกิดการดื้อยาและติดยาได้
-
-
ด้านจิตใจ
การช่วยเหลือด้านจิตใจผู้ป่วยอาจมีความคับข้องใจรู้สึกเครียดไม่ทราบว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไรกับปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งปัญหาภายในตนเองและปัญหาที่เกิดกับคนรอบข้างผู้รักษาจะให้คำแนะนำที่ผู้ป่วยสามารถนำไปปฏิบัติ
การให้คำแนะนำแก่ครอบครัวเป็นการให้ความรู้แก่ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยเกี่ยวกับเรื่องของโรคและปัญหาต่างๆของผู้ป่วยที่อาจเกิดขึ้นบางครอบครัวอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยเป็นเวลานานในแต่ละวันซึ่งอาจเป็นการไปเพิ่มความกดดันแก่ผู้ป่วยกรณีนี้การทำครอบครัวบำบัดหรือให้ความรู้ในเรื่องโรครวมทั้งสิ่งที่ญาติควรปฏิบัติต่อผู้ป่วยและช่วยได้เป็นอย่างยิ่ง
กลุ่มบำบัดเป็นการจัดกิจกรรมระหว่างผู้ป่วยขณะที่ผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาลโดยส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกว่ามีเพื่อนมีคนเข้าใจไม่โดดเดี่ยวมีการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาและให้คำแนะนำแก่การฝึกทักษะทางสังคมเน้นการสนับสนุนให้กำลังใจแก่กัน
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
-
-
อ้างอิง เสาวลักษณ์ สุวรรณไมตรี.(2560).คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท สำหรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ
(ฉบับพยาบาล/นักวิชาการสาธารณสุข). นนทบุรี : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
รัชดาภรณ์ ใจอ้าย.การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาจิตเวชด้านความคิดและการรับรู้ . [เว็บบล็อค] . สืบค้นจาก http://sutir.sut.ac.th:8080 .
นิตยา ศรีจำนง. การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านความคิดและการรับรู้. [เว็บบล็อค] .
สืบค้น จากhttp://www.elnurse.ssru.ac.th/nitaya_si/pluginfile.php.
-