Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Respirarory Pathophysiology - Coggle Diagram
Respirarory Pathophysiology
โครงสร้างของระบบหายใจประกอบด้วย
ทางเดินหายใจส่วนต้น เริ่มตั้งแต่รูจมูกถึงสายเสียง มีหน้าที่
1.ปรับความชั้นและความอุ่นของอากาศที่หายใจเข้าให้เหมาะสมกับ อุณหภูมิร่างกาย
2.กรองสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคโดยใช้ขนกวัด (cilia)
3.เป็นทางนาอากาศเข้าสู่ร่างกาย รับกลิ่น และทำให้เกิดเสียงพูด
4.โพรงไซนัสทำหน้าที่ปรับเสียงพูดให้ก้องกังวาน
ทางเดินหายใจส่วนปลายเริ่มตั้งแต่สายเสียงถึงปอด มีหน้าที่
1.เป็นทางลำเลียงอากาศ
2.การแลกเปลี่ยนก๊าซ
ระบบหายใจในเด็ก
ลิ้นของเด็กมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับช่องปากทำให้ลิ้นตกอุดทางเดินหายใจได้ง่ายโดยเฉพาะเมื่อเด็กนอนท่าหงาย
ทารกและเด็กเล็กจะมีท่อทางเดินหายใจขนาดเล็กและส้ันทางเดินหายใจส่วนต้นมีลักษณะเป็นรูปกรวย บริเวณ Cricoid จะเป็นบริเวณที่แคบที่สุดเมื่อมีการบวมของหลอดลม หรือมีเสมหะ
ทารกและเด็กเล็กมีจำนวนถุงลมน้อยกว่าทำให้พื้นที่สำหรับการแลกเปลี่ยนก๊าซน้อยกว่า
ผนังทรวงอกอ่อน นิ่ม และมีขนาดเล็กทาให้เมื่อมีการใช้แรงหายใจเพิ่มขึ้น จึงเกิดการดึงร้ังของทรวงอก (Retraction) กล้ามเนื้อช่วยหายใจยังเจริญไม่เต็มที่ทำให้การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
อาการที่บ่งชี้เด็กมีอาการรุนแรงและต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคือ
ทารกอายุน้อยกว่า3 เดือน
อัตราการหายใจมากกว่า 60 คร้ังต่อนาที
ดูดนมได้น้อยลงหรือรับประทานอาหารไม่ได้
ซึม อ่อนเพลีย
หายใจหน้าอกบุ๋ม มี Grunting (กลั้นหายใจเมื่อหายใจออก)
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 140 คร้ังต่อนาที
7.ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน (oxygen saturation) ต่ำกว่า 92 %
ฟังปอดได้เสียง Crepitation
พยาธิสรีรภาพของปอดบวม
อาการสำคัญที่บ่งชี้ของปอดบวมคืออัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ โดย
เด็กอายุน้อยกวา่ 2 เดือน อัตราการหายใจมากกว่า60 คร้ังต่อนาที
เด็กอายุ 2 เดือนถึง 1 ปีอัตราการหายใจมากกว่า50คร้ังต่อนาที
เด็กอายุ1 - 5 ปี อัตราการหายใจมากกวา่ 40 คร้ังต่อนาที
เด็กอายุมากกว่า5 ปี อัตราการหายใจมากกว่า 20 คร้ังต่อนาทีเด็กอาจจะมีไข้ หายใจลำบาก ไอ ฟังเสียงปอดผิดปกติ