Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
C/S due to Oligohydraminos with non reassuring FHS นศพต.ชนากานต์…
C/S due to Oligohydraminos with non reassuring FHS
นศพต.ชนากานต์ แก้วรากมุข เลขที่ 7
Data
หญิงไทยอายุ 31ปี G2P0A1 GA 40+6wks by date
Spontanous Abortion ปี2560 ไม่ได้ขูดมดลูก
CC : เจ็บครรภ์ 2 hrs PTA
PI: 2 hrs PTA มาANC แล้วปวดหน่วง ปวดท้องสม่ำเสมอ ทุก 5 นาที ไม่มีน้ำเกิน ไม่มีมูกเลือด ไม่ปวดศีรษะ ไม่มีหน้ามืด ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีมือเท้าบวม
PH : ปฏิเสธ
Family history: มารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง
แม่สามีคลอดลูกแฝด
ANC 2 ครั้ง รพ.บางนา รพ.ตำรวจ1ครั้ง
มาANC on NST มี Late decerelation Admit LR
ผ่าตัด cyst ในรังไข่ ปี 2560
C/S
ข้อบ่งชี้
มีข้อห้ามในการเจ็บครรภ์
การชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์ไม่เป็นผลสำเร็จ
DM
ครรภ์เป็นพิษ
IUGR
การคลอดยาก
CPD
มีการขวางกั้นช่องทางคลอด
เช่นมีผนังกั้นในช่องคลอด มีเนื้องอกมดลูกหรือรังไข่
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ท่าขวาง ท่าก้น
เจ็บครรภ์ผิดปกติจากการหดรัดตัวของมดลูกน้อยหรือมากเกินไป แก้ไขแล้วไม่สำเร็จ
ภาวะฉุกเฉินของทารก
รกลอกตัวก่อนกำหนด
รกเปาะต่ำมีเลือดออก
สายสะดือย้อย
ภาวะแทรกซ้อน
Anesthetic accidents
เป็นสาเหตุการตายของมารดามากที่สุดเกี่ยวกับการเกิดAspiration pneumonitis
Infection
ติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด การติดเชื้อในโพรงมดลูก
Hemorrhage
เสียเลือดมากกว่าคลอดทางช่องคลอด อย่างน้อยประมาณ 1,000 ml.
ชนิดของ C/S
การลงแผลผ่าตัดที่ผนังหน้าท้อง
Abdominal incision
Lower midline incision
Inflaumbilical midline vertical incision
ลงแผลแนวกึ่งกลางลำตัวต่ำกว่าสะดือ
ความยาวของแผลขึ้นกับขนาดของทารก
ข้อดีคือสามารถขยายความกว้างของแผลตามต้องการ
สามารถทำคลอดทารกได้เร็วและสะดวก
Pfannenstiel incision
Transverse incision
การลงแผลในแนวขวางลำตัวตำแหน่งskin crease เหนือหัวหน่าว
ข้อดีคือ แผลสวยและรอยแผลซ่อนอยู่ใต้ขอบกางเกงใน ความเเข็งแรงของแผลดีกว่า
ทำให้เกิด Incision hernia น้อยกว่า
ข้อเสียคือการขยายขนาดของแผลทำได้ไม่ดีเท่า midline incision
การลงแผลผ่าตัดที่กล้ามเนื้อมดลูก
Vertical incision
ไม่นิยม
การลงแผลผ่าตัดบริเวณกึ่งกลางตัวมดลูกตรงบริเวณbodyของมดลูกแต่เหนือระดับ lower uterine segment
Lower segment transverse incision
นิยม
การลงแผลผ่าตัดในแนวขวางบริเวณ lower segment ของตัวมดลูก Kerr’s
การพยาบาล
1.ดูแลเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ สร้างสัมพันธภาพ คลายความวิตกกังวล ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการผ่าตัด ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ฮะเบายและสาธิตการปฏิบัติตนก่อนและหลังผ่าตัด
การพลิกตะเเคงตัว
การหายใจเข้าออกลึกๆ
การไอที่ถูกวิธี
2.เปิดโอกาสให้หญิงตั้งครรภ์ระบายความกังวลและซักถามข้อสงสัย รับฟังด้วยความตั้งใจ เพื่อส่งเสริมให้กำลัง
3.เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเจาะเลือดเพื่อเตรียมพร้อมหากเสียเลือดมาก
เตรียมทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่ทำการผ่าตัด
NPO
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใส่สายสวนปัสสาวะ
FHS non reassuring
มา ANC ทำ NST พบ Late decerrelation
การวินิจฉัย
Category I
Reassuring pattern FHS 110-160bpm
Category II
FHS เป็นแบบก้ำกึ่ง บอกไม่ได้ชัดเจนว่าปกติหรือผิดปกติ
Category III
FHS เต้นผิดปกติ ช้าหรือเร็วอย่างชัดเจน Non reassuring pattern ทารกผิดปกติ
Promblem
At LR
อาการแรกรับ
ปากมดลูกเปิด 2 cms. eff 50% station-1,MI
FHS 148
I 5’,D 30”,In ++
Vital sign
T=36.2’C
HR=78bpm
RR=18bpm
BP128/80mmHg
O2sat 100%
Pain score 4
ตรวจครรภ์
3/4>o ,Vx,HE,LOA FHS 148bpm
สารน้ำที่ให้
RLS 1,000ml IV drip rate 100 drop/min
U/S
AFI 4 cms
At OR
Operation Lt c/s
type F/E
เริ่ม 12.11น.
สิ้นสุด 13.16น.
Plancenta site : posterior
หนัก 720 g.
Med
5%D/N/2 1,000ml v drip 120 cc/hrx3 add synto 20 u ใน IV ขวดแรก
Cefazolin 2 g IV q 8hrs x3 dose
Anaesthesia : SB with morphine 12.11น.
ทารกเพศชายคลอดเวลา 12.26น.
น้ำหนัก 3,070 g Lenght 51 cm. apgar score 9,10,10
Blood loss 900 ml.
RR
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี room sir O2sat 100%ไม่มีคลื่นไส้อาจียน ไม่มีหนาวสั่น On
มีแผลผ่าตัดคลอดที่หน้าท้อง no bleeding มดลูกหดรัดตัวดี no bleeding per vagina on foley cath urine output 30cc สีเหลืองใส ชาบริเวณขาไม่สามารถขยับได้
Nursing
ประเมิน vital sign q 5นาที จนครบ 1ชม.
-เฝ้าระวัง BP
-O2sat
-RR
เฝ้าระวัง PPH
-ประเมิน blood loss in24ชมต้องไม่เกิน 900 เนื่องจากOR 100 cc
-vital sign
สังเกตอาการข้างเคียงจากยา
-marcaine ยาชา high block มีผลต่อการหายใจ BP drop
-morphine RR และอาการคลื่นไส้อาเจียน
-ยากระตุ้นการหดตัวของมดลูก BP drop คลื่นไส้อาเจียน
ประเมินแผลผ่าตัดและมดลูก
-มดลูกและการหดตัวของมดลูก ระดับ pain score
-แผลผ่าตัด ประเมินตาม REEDA ระดับ pain score
ประเมิน Post anesthetic record (modified aldrete score) 5 ครั้ง แรกเข้า 15นาที 30นาที 60นาที และก่อนส่งผู้ป่วย
ถ้าคะแนนต่ำกว่า 8 Notify แพทย์
Oligohydraminos
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ผลกระทบ
มารดา
ทารกในครรภ์
ปอดแฟบ
Pulmonary hypoplasia
พบความผิดปกติของร่างกาย แขน ขา มือเท้า ผิดรูป
โครโมโซมผิดปกติสูงขึ้น
Fetal distrss
อัตราการ C/S สูงขึ้น
การวัดปริมาณน้ำคร่ำ
วัดด้วยความรู้สึก
Subjective
ใช้เวลาน้อยแต่ต้องอาศัยทักษะ ทำนายปริมาณภาวะน้ำคร่ำน้อยได้ดีกว่าภาวะน้ำคร่ำมาก หากแปลผลได้ให้วัดเชิงปริมาณต่อ
วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำ
Single deepest pocket: SDP
maximum vertical pocket : MVP
ตรวจตำแหน่งของแอ่งที่ขนาดใหญ่โดยไม่มีสายสะดือหรือตัวทารกอยู่ให้วัดในแนวดิ่ง
ต้องมีที่ว่าง อย่างน้อย 1 cms.
ถ้ามี2 cms.หรือน้ออยกว่าถือว่ามีภาวะน้ำคร่ำน้อย
ดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ
Amniotic fluidindex,AFI
AFI 4cms.
น้อยกว่า 5-8cms ถือว่ามีภาวะน้ำคร่ำน้อย
แบ่งตามความรุนแรง
SDP
รุนแรงน้อย
วัดได้1-2cms.
รุนแรงมาก
วัดได้น้อยกว่า 1cms.
AFI
ก้ำกึ่งหรือน้อยกว่าปกติ
วัดได้ 5-8cms.
น้ำคร่ำน้อย
น้อยกว่า5 cms.
การรักษา
กรณี GA น้อย
การเติมน้ำคร่ำ Amnioinfusion
การดื่มมากๆทำให้เพิ่มเล็กน้อย ทารกจะได้รับน้ำเพิ่มและปัสสาวะเพิ่ม
สารเคลือบ Sealants
Fibrin glue
Gelatin sponge
กรณีไตมาสที่สาม
ส่วนใหญ่สัมพันธ์กับภาวะแทรกซ้อน
เช่น สายสะดือถูกกดรกเสื่อมสภาพ สำลักขี้เทา
ทำให้อัตรา C/S เนื่องจาก non reassuring fetus
ติดตามอย่างใกล้ชิดโดยทำ NST
,SDP,BPP 1-2ครั้งต่อสัปดาห์จนคลอด
ตรวจDroppler ในรายที่มีน้ำคร่ำน้อย,IUGR
การพิจารณาคลอด
ขึ้นกับภาวะแทรกซ้อนหรือสาเหตุอื่นร่วม
Preeclampsia
Post term pregnan
PROM
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุชัดเจนแต่มักพบในรายที่มีความผิดปกติดังนี้
ตั้งครรภ์แฝด
ทารกมีความผิดปกติของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติของโครโมโซม
รกเสื่อมสภาพ
Postterm pregnancy
IUGR
PROM เป็นเวลานาน
มารดาติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
มารดาได้รับสารพิษขณะตั้งครรภ์
ยาแก้ปวดบางชนิดทำให้ทารกสร้างปัสสาวะลดลง
Indomethacin