Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลเจริญผิดปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลเจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(acute lymphoblastic leaukemia)
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
พบบ่อยที่สุดในเด็ก
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
ความหมาย
Leukemia
หมายถึง มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow)
เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ส่งผลเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น เม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
ผู้ป่วยจึงเกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
พบบ่อยที่สุดในเด็ก คือ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acutelymphoblastic leukemia ,ALL)
acute lymphoblastic leukemia แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
ส่วนใหญ่จะพบชนิด B-cell
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลืดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (Chronic myelogenous leukemia)
พบน้อย พบได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
ประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (Chronic lymphocytic leukemia )
พบบ่อยในผู้ใหญ่ มีความชุกมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (Acute myelogenous )
พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
พบในผู้ชายมากว่าผู้หญืง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL (Acute lymphoblastic leukemia )
พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
พบบ่อยในอายุ2-5ปี
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ไม่ทราบสาเหตุชัดเจน
แต่พบว่าเกิดได้จากหลายปัจจัย
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์(Ionizing radiation)
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด และอาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ
ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็ นดาวน์ซินโดรม จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL และ AML มากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็ นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL จะมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 2-4 เท่า
อาการ
อาการแรกที่เป็น คือ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย เพราะมะเร็งเม็ดเลือดขาวจะมีเกร็ดเลือดต่ำ
เม็ดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะต่างๆ ทำให้มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ หรือมีตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
ต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
เกิดบริเวณที่มีเนิ้อเยื่อ Sympathetic nerve
ต่อมหมวกไต(adrenal gland) ในช่องท้อง
อาการ
อาการนำที่มาพบแพทย์
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
อาการอื่นๆ
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
มีไข้ ปวดกระดูก
ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
มะเร็งไต Wilm Tumor
หมายถึง
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
จะมีขนาดใหญ่ และคลำได้ทางหน้าท้อง มักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Lymphoma)
ความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ทำให้เกิดเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองขึ้น การทำหน้าที่ก็จะผิดปกติ
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lympnode )
การวินิจฉัย
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก
การตรวจกระดูก (Bone scan)
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจ PET scan เป็นการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อหาเซลมะเร็ง
ประกอบด้วยอวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ หรือเต้านม แต่จะไม่มีอาการเจ็บ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้นจากการมีน้ำในช่องท้อง
ระบบน้ำเหลือง (Lymphoma System) เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน
แนวทางการรักษาในปัจจุบัน
การใช้ยาเคมีบ้าบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma) พบต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปี ไม่มีอาการเจ็บปวด
Burkitt Lymphoma มีลักษณะพิเศษคือ มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell( Blymphocyte) มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้ว
ระยะนี้จะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้ ได้แก่ Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
มักมีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้ง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ ตับม้ามโต
ยาที่ใช้ ได้แก่ Metrotrexate, Hydrocortisone และ ARA – C
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
เป็นการให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุด
ระยะนี้ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้ได้แก่ Vincristine, Adriamycin, L – Asparaginase และ Glucocorticoid
มีอันตรายต่อเซลล์ปกติน้อยที่สุด
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or continuation therapy)
เป็นการให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้ คือ การให้ 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับ การให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง แบ่งเป็น 2 แนวทาง คือ
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein ต้องระวังการรั่วของยาออกนอก หลอดเลือด ที่ทำให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับ หรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (Cross link)
ส่งผลทำให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันโดยยับยั้งการสร้าง Purine
ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้างDNA และRNA
มีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cytarabine(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic leukemia (ALL)
จะขัดขวางการสร้าง DNA
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบเลือด
ทำให้ไขกระดูกผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่างๆ ได้น้อยลง
1.1 เม็ดเลือดแดง : RBC ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะซีด (Anemia)
1.2 เม็ดเลือดขาวต่ำ(Leukopenia) ประเมินได้จากค่า ANC : absolute neutrophil count
แบ่งภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ(Leukopenia) เป็น 3 ระดับ
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำรุนแรง ANC ต่ำกว่า 500 เซลล์/ลบ.มม.
ผู้ป่วยจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่รุนแรงมากขึ้น ในรายที่ ANC ต่ำกว่า 100 เซลล์/ลบ.มม.เป็นภาวะที่เม็ดเลือดขาวต่ำระดับรุนแรงอย่างมาก ผู้ป่วยจะเสี่ยง
1.3 เกร็ดเลือดต่่ำ (thrombocytopenia)
ในรายต่ำกว่า 50,000เซลล์/ลบ.มม.จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเลือดออกง่ายหยุดยาก
ผลต่อระบบผิวหนัง
ทำให้ผมร่วง หลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
ท ำให้มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องผูก
ดูแลป้องกันการติดเชื้อในช่องปากด้วย
โการให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่าง ต่อเนื่องทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารด้วยการให้ผู้ป่วยรับประทาน LowBacterial diet คืออาหารที่สุกสะอาดและปรุงเสร็จใหม่ๆ
ตับ
ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตับและยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายตับ
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินปัสสาวะ
ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไต
ยาบาง ชนิดก็มีฤทธิ์ทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ
การวางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT)
ยาที่ใช้บ่อยคือ MTX หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง
นอกจากนี้การให้ยาแพทย์จะต้อง นำน้ำไขสันหลังออกเท่ากับจำนวนยาที่ใส่เข้าไป โดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
ค่าปกติของน้ำตาลใน CSF (50-80 mg/dl)หรือ เท่ากับ 60-70% ของค่าใน serum
ถ้าต่ำกว่า 40 mg/dl หรือ 40% ของน้ำตาลในกระแสเลือด ค่าปกติของโปรตีน 12-60 mg/dl
การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก
3 รับประทานอาหารที่สุกใหม่
ให้มีคุณค่าครบถ้วน แคลอรีและโปรตีนสูง งดอาหารที่ลวก ย่าง รวมทั้งผักสด
ดื่มนมที่ผลิตด้วยวิธีสเตอริไลส์ และยูเอช ที UHT แทนการดื่มนมพลาสเจอร์ไลด์
4.การดูแลปัญหาซีด
มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง
การให้เลือด(Pack Red Cell)
โดยการติดตามประเมิน V/S อย่างต่อเนื่อง ทุก 15 นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 1⁄2 ชั่วโมงจนกว่าจะ Stable
ก่อนให้เลือดแพทย์จะให้ยา Pre-med คือ PCM CPM
lasix ต้องดูแลให้เลือดหมดโดยใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง
หลังจากนั้นติดตามค่า Hct หลังให้เลือด หมดแล้ว 4 ชั่วโมง
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง เพื่อสร้างเม็ดเลือด
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
แพทย์อาจมีแผนการรักษาให้ Platlet concentration
ก่อนให้แพทย์จะมีแผนการรักษาให้ผู้ป่วยจะได้รับ Pre-med คือ PCM CPM และ lasix
และระหว่างให้จะต้องติดตาม V/S อย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับการให้เลือด
Tumorlysis Syndrome : TLS
เกิดจากการสลายของเซลล์มะเร็งจำนวนมากอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นผลจากการได้รับยาเคมีบำบัดครั้งแรก
การสลายของเซลล์มะเร็ง เหล่านี้ทำให้เกิดการปลดปล่อยส่วนประกอบของเซลล์ ออกมา
จนขีดความสามารถควบคุมร่างกายให้ปกติได้ งก่อให้เกิดกลุ่มความผิดปกติทางเมตาบอลิซึม
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
มักพบในช่วง 12-24 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง และมักพบความผิดปกติแรกที่สังเกตได้ใน TLS
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
มักพบในช่วง 24-48 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง โดยเป็นสาเหตุที่เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำตามมา ส่งให้เกิดการชักเกร็ง (tetany)
ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง
มักพบในช่วง 48 – 72 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง ซึ่งเกิดจากการสลายของกรดนิวคลีอิก กลุ่มพิวรีน (purine) ได้เป็น hypoxanthine และ xanthine
สาเหตุ และ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิด TLS
เกิดขึ้นบ่อยที่สุดระหว่างการรักษามะเร็งด้วยยาเคมีบำบัด (chemotherapy)
พบระหว่างที่ผู้ป่วยได้รับรังสีรักษา (radiotherapy)
โดยปกติ TLS มักเกิดภายใน 72 ชั่วโมง ภายหลังการรักษาด้วยเคมีบ าบัดในผู้ป่วย leukemia และ lymphoma
อาการและอาการแสดง
โดยทั่วไปมักพบอาการทางระบบทางเดินอาหาร ภาวะกรดยูริกในเลือดสูงอาจพบภาวะง่วงซึม (lethargy)
อาการและอาการแสดงของภาวะทางเดินปัสสาวะอุดตัน (obstructive uropathy) หรือไตวาย ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงและภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ อาจพบกล้ามเนื้อตะคริว ชักเกร็ง ชัก ไตวายและหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การวินิจฉัย
ปัจจุบันไม่มีเกณฑ์การวินิจฉัย TLS ที่เป็นมาตรฐาน
TLS วินิจฉัยจากอาการทางคลินิก ร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์ รุ่น 36/1 เลขที่ 37
รหัสนักศึกษา 612001038