Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลแบบองค์รวม ในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ,…
บทที่ 9 การพยาบาลแบบองค์รวม
ในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
Birth Injury
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยงจากการคลอด
ปัจจัยเสี่ยงจากผู้ทำคลอด
ปัจจัยเสี่ยงจากทารก
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดา
การบาดเจ็บจากการคลอดของทารกที่พบได้บ่อย
Bone injuries
กระดูกต้นขาหัก
การรักษา
ถ้ากระดูกไม่แตกแยกออกจากการรักษาโดยการใส่เฝือกขายาว ประมาณ 3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกแตกแยกจากการรักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ฝังไปเตรียมขายยาตรงให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตรียมดึงคาไว้นาน 2-3 สัปดาห์
สาเหตุ
ผู้ทำคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ทางเข้าเชิงกราน
การคลอดท่าก้น
กระดูกไหปลาร้าหัก
สาเหตุ
การคลอดทารกท่าศรีษะที่ไหลคลอดยาก
ทารกตัวโตหรือคลอดท่าก้นที่แขนเหยียดซึ่งผู้ทำคลอดดึงแขนออกมา
การรักษา
รักษาโดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหปลาร้าหักอยู่นิ่งๆโดยการกัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10 ถึง 14 วัน
ส่วนใหญ่หายได้เองค่อนข้างเร็วมักเกิด กระดูกงอกใหม่ภายใน 1 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
การรักษา
ถ้ากระดูกแขนหักสมบูรณ์จะรักษาโดยการจับแขนตึงกับผนังทรวงอก 90 องศา แขนส่วนล่างและมือทาบ ขวางลำตัวใช้ผ้าพันรอบแขนและลำตัวหรือใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
เพียงกระดูกแขนเดาะจะรักษาโดยการดึงแขนให้แนบกับลำตัวเพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทำคลอดดึงทารกออก
แขนเหยียด
การคลอดท่าศีรษะ
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
Brachial nerve plexus
Klumpke’ s paralysis
แขนอยู่ในท่าชี้ตัวและหมุนเข้าด้านใน
บริเวณข้อมือไม่ขยับกำมือไม่ได้
แขนข้างนั้นส่วนล่างไม่ขยับ
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาทจาก กระดูกสันหลังคอ C7-C8 และ T1
Erb Duchenne Paralysis
แขนจะอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าด้านใน
บริเวณข้อมือยังขยับมือได้ตามปกติ
แขนข้างนั้น ส่วนบนไม่ขยับ
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาทจากกระดูกสันหลัง c5- c6
facial nerve injury
สาเหตุ
การคลอดยาก
F/E
การรักษา
ขาดต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
ปกติถ้าเส้นประสาทที่เลี้ยงใบหน้าถูกกดขาดหายไปได้เองภายใน 2-3 สัปดาห์
Skull injuries
cephalhematoma
การรักษา
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน จะค่อยๆหายไปเองภายใน 2 เดือน
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองร่วมด้วยและมีระดับบิลลิรูบินในเลือดสูงจำเป็นต้องได้รับการส่องไฟ
ในรายที่ก้อนเลือดขนาดใหญ่อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
ภาวะแทรกซ้อน
hyperbilirunemia
infection
สาเหตุ
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องคลอด
การใช้ V/E
ระยะเวลาการคลอดยาวนาน
intracranial hemorrhage
สาเหตุ
การได้รับอันตรายรุนแรงจาการคลอด เป็นสาเหตุสาคัญที่สุด
preterm
ภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานานในขณะคลอดหรอืเกิดภายหลังคลอด
การรักษา
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชักและให้วิตามินเค
ดูแลให้ออกซิเจนถ้าทารกมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายทารกถ้าตัวเย็น
ดูแลให้รับนม อย่างเพียงพอ
ถ้ามีความดันในกะโหลกศีรษะสูงอาจต้องได้รับการรักษาโดยเจาะน้ำไขสันหลังเพื่อบรรเทาอาการความดันในสมอง
caput succedaneum
อาการ
พบได้ด้านข้างของศีรษะการบวมของก้อนโนนี้จะมีความกว้างและมีขนาดโตประมาณไข่ห่าน ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
การรักษา
หายไปได้เองประมาณ 2 -3 วนั หลังคลอด
V/E จะหายช้ากว่า
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหวา่างการคลอดท่าศีรษะ
ทำให้ของเหลวไหลซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั้น ใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
V/E
ทารกแรกเกิดจากมารดาติดสารเสพติด
แอมเฟตามีนต่อทารก
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ภาวะเลือดออกในสมองภาวะสมองตายทำให้มีการทำลายเซลล์ประสาทเส้นรอบศีรษะมีขนาดเล็กซึ่งมีผลต่อสมาธิความจำ
มีความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด
เด็กมีปัญหาพฤติกรรมในระยะยาว
FAS
อาการ
มีสติปัญญาต่ำ
กล้ามเนื้อและระบบประสาททำงานไม่ดี
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
น้ำหนักตัวน้อยความยาวสั้นกว่าปกติภายหลังคลอดน้ำหนักขึ้นช้ากว่าปกติถึง 30 เท่าและส่วนสูงขึ้นช้ากว่าปกติ
มีลักษณะผิดรูปของใบหน้าชัดเจนศีรษะเล็ก
สาเหตุ
มารดาดื่มสุรา 6 แก้ว ต่อวัน
ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์หรอื 3 ออนซ์ต่อวัน ตลอดการตั้งครรภ์
บุหรี่ต่อทารก
การเจริญเติบโตช้ามีน้ำหนักน้อย
คลอดก่อนกำหนดและเกิดภาวะหายใจลําบาก
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรังจากหลอดเลือดหดรัดตัวร่วมกับมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมากขึ้น
มีสติปัญญาต่ำ
เฮโรอีนต่อทารก
ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำเนื่องจากเฮโรอีนยับยั้งการนำออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ร่วมกับหลอดเลือดสายสะดือมีการหดรัดตัวทำให้คลอดออกมามีภาวะ rds
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์ขาดสารอาหารทุกชนิด
ทารกได้รับสารเสพติดติดต่อกันตลอดระยะของการตั้งครรภ์เกิดการติดสารเสพติดขึ้น จึงมีอการถอนยา
ทารกแรกเกิดติดเชื้อ
โรคสุกใส
การรักษา
ทารกควรได้รับการแยกจากทารกที่คลอดจากมารดาปกติด้วย
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อสุกใสภายใน 5 วันก่อนคลอดหรือ 2 วันหลังคลอดควรได้รับ VZIGทันทีที่คลอด
ถ้ามารดามีอาการขณะคลอด ควรได้รับการแยก กันกับทารก จนกระทั่งมารดามีการตกสะเก็ดของตุ่มสุกใสจนหมด
มีบางรายแนะนำว่าควรให้ยา Acyclovirร่วมกับVZIGในทารกแรกคลอดเนื่องจากได้ผลการรักษาดีกว่าการให้VZIGเพียงตัวเดียว
ระยะติดต่อ : ตั้งแต่ 24 ชมก่อนผื่นขึ้นและ 6 วัน
ถ้าหญิงตั้งครรภ์เป็นสุกใสระยะก่อนคลอด 5 วันหรือหลังคลอด 2 วันทารกที่เกิดมาอาจเป็นสุขชนิดรุนแรงได้
หนองในแท้
ทารกจะได้รับเชื้อโดยตรงจากมีถุงน้ำคร่ำแตกหรือผ่านทางช่องคลอดที่ติดเชื้อพบในวันที่ 1-4 หลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อที่ตาโดยการป้ายตาหลังทารกคลอดทันที
ต้องเช็ดตาของทารกด้วย nss หรือล้างตาทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าหนองจะแห้ง
โรคเริม
การรักษา
ดูแลให้ได้รับยา Acyclovir ตามแผนการรักษาในการติดเชื้อเริมจากการคลอดทางช่องคลอด
แยกทารกออกจากทารกผื่นและดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริมอย่างน้อย 7-10 วัน
อาการของทารก
ไข้อ่อนเพลีย
ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง ตับ ม้ามโต
บางรายพบมีตุ่มน้ำ
ชัก
หัดเยอรมัน
อาการ
ความผิดปกติของหัวใจ
ความบกพร่องทางการได้ยิน
ความผิดปกติทางตา
สมองพิการและปัญญาอ่อน
เกล็ดเลือดต่ำ ซีด ตับม้ามโต
ความผิดปกติของโครโมโซม
การรักษา
เก็บเลือดทารกส่งตรวจเพื่อยืนยันการติดเชื้อและ ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียด
ทารกแรกเกิดจากมารดาที่ติดเชื้อหัดเยอรมันในระยะตั้งครรภ์แม้ไม่มีอาการแสดงใดๆควรได้รับการแยกจากทารกปกติเพื่อสังเกตอาการและประเมินความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง
โรคเอดส์
การให้ยาต้านไวรัสและการผ่าตัดคลอดก่อนการเจ็บครรภ์สามารถป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัส HIV จากมารดาสู่ทารกได้
การรักษา
ตรวจหาการติดเชื้อเพื่อหา viral load
เมื่อทารกครบ 12 เดือนควรตรวจหาภูมิต้านทาน
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อต้องได้รับยา
หลีกเลี่ยงการใส่สายยางสวนอาหารในกระเพาะอาหารทารกโดยไม่จำเป็น
การติดต่อจากมารดาสู่ทารกทารกการสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งจากมารดาขณะคลอดและหลังคลอดและการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ตับอักเสบบี
การถ่ายทอดเชื้อผ่านเลือดน้ำลายอสุจิสิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอดน้ำนมและผ่านทาง รก
หญิงตั้งครรภ์ที่มีผลhbeag positive จะมีอัตราการถ่ายทอดเชื้อไปสู่ทารกสูง
การรักษา
ทารกดูดนมมารดาได้ทันทีหลังคลอดโดยไม่จำเป็นต้องรอให้ทารกรับวัคซีนก่อน
หากมารดามีหัวนมแตกให้งดให้นมบุตรเพราะอาจแพร่กระจายเชื้อสู่ทารกได้
เมื่อแรกคลอด ดูดมูกแล้วเลือดออกจากปากและจมูกของทารกออกมาให้มากที่สุดและทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ดูแลให้ทารกแรกเกิดได้รับ HBIG เข้ากล้ามเนื้อโดยเร็วที่สุด
Meconium aspiration syndrome
อาการ
หน้าอกโป่งเวลาหายใจเข้าออกหน้าอกบุ๋ม
ในรายที่อาการไม่รุนแรง อาจจะดีขึ้นมาภายใน 24 ถึง 72 ชั่วโมง
ปลายมือปลายเท้าและรอบปากเขียว
ในรายที่รุนแรงอาจใช้เวลา ถึง 1-2สัปดาห์
ขี้เทาจะไปอุดตามหลอดลมและถุงลมในปอดของทารก ทำให้ทารกหายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อยเป็นเวลา 2-3 วันหลังคลอดหรือบางรายการหายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
ในรายที่สุดสำหรับขี้เทาเข้าไปมากอาจเสียชีวิตทันทีหลังคลอดหรือภายใน 24 ชั่วโมง
การพยาบาล
กระตุ้นให้ร้องและดูแลให้ออกซิเจนรักษาร่างกายทารกให้อบอุ่นโดยจัดให้นอนใน radiant warmer ที่อุณหภูมิ 36.5 ถึง 37 องศาเซลเซียส
สังเกตอาการผิดปกติโดยเฉพาะการหายใจมากกว่า 60 ครั้งต่อนาทีให้รายงานแพทย์
กระตุ้นให้ร้องและดูแลให้ออกซิเจน
บอกถึงอาการและความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลทารกให้มารดาและบิดาทราบ
จัดให้ทารกนอนตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
การรักษา
ภายหลังการดูดขี้เถ้าในหลอดลมควรใส่สายยางดูดขี้เถ้าจากกระเพาะอาหารด้วย
ในรายที่มีasphyxia โดยทำการอยู่ที่เทาก่อนช่วยด้วยแรงดันบวกและดูดออกให้มากที่สุด
หากมีขี้เทาในน้ำคร่ำประกอบกับทารกหายใจช้าความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดีและ HR มากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีพิจารณาใส่ET-tube เพื่อดูดขี้เถาออก
ดูดขี้เทาและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุดก่อนทารกหายใจ
Birth Asphyxia
การช่วยเหลือ
Mild asphyxia (APGAR score 5-7)
Clear Airways
กระตุ้นหายใจด้วยรูปหน้าอกหรือหลัง
เช็ดตัวทารกแห้ง
ออกซิเจนที่ผ่านความชื้นและอุดผ่าน 5 LPM
Moderate asphyxia (APGAR score 3-4)
ใช้bagและmaskให้ออกซิเจนร้อยละ 100 และความดันที่เพียงพอ
ช่วยเหลือ 30 วินาที HR ไม่เพิ่มหรือเต้นช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาทีควรใส่ท่อETT-tubeและนวดหัวใจ
Clear Airways
No asphyxia (APGAR score 8-10)
เช็ดตัวทารกให้แห้งผ้าให้ความอบอุ่นหรือวางทารกใต้เรเดียนวอร์มเมอร์ที่อุ่น โดยดูดสิ่งคัดหลั่งในปากและจมูก
Severe asphyxia (APGAR score 0-2)
ช่วยหายใจทันทีที่คลอดโดยการใส่ETT-tubeและช่วยหายใจด้วย bag ใช้ออกซิเจนร้อยละ 100 พร้อมกับแม่หัวใจในอัตราการนวดหัวใจ 3 ต่อ 1
หลังช่วย 1 นาทีถ้าไม่มี HR หรือหลังช่วย 2 นาที HR < 100 ครั้งต่อนาทีควรได้รับการใส่ umbilical venous catheter เพื่อให้ยาช่วยฟื้นคืนชีพและสารน้ำ
Clear Airways
อาการ
ทารกจะมีลักษณะเขียวแรกคลอดไม่หายใจตัวนิ่มอ่อนปวกเปียก reflex ลดลง หัวใจเต้นช้า โดยอาการขึ้นอยู่กับความรุนแรงของภาวะขาดออกซิเจน
สาเหตุ
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือของทารกขัดข้อง
สารอาหารผ่านรกมายังทารกไม่พอ
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
ทารกคลอดเกินกำหนด
การพยาบาล
ระยะคลอดป้องกันการบาดเจ็บจากการคลอดจากทารกตัวใหญ่ หรือคลอดติดไหล่
ระยะหลังคลอด ดูสิ่งคัดหลั่งจากปากและจมูกให้ดีเพื่อป้องกันการสูดสำลักขี้เทาในน้ำคร่ำ
ระยะรอคลอดให้ติดตาม EFM ทุก 1-2 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในครรภ์มารดาและติดตามผลการประเมินปริมาณน้ำคร่ำ ด้วย U/S เพื่อประเมินภาวะน้ำคร่ำน้อย
ทารกที่มีAPGAR scoreปกติ ให้ดูแลเหมือนทารกทั่วไปแต่ถ้าต่ำ ดูแลให้เหมาะสมตามระดับของภาวะ ออกซิเจนแรกคลอด
ลักษณะ
ผมและเล็บจะยาวขึ้นเรื่อยๆ
มีขี้เทาเคลือบติดตามตัวรูปร่างผอมหน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป
มีการสะสมไขมันที่ผิวหนังลดลงมีการหลุดลอกของไขทำให้ผิวหนังทารกสัมผัสกับน้ำคร่ำทำให้ผิวหนังเหี่ยวย่น
มีภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์จาก uteroplacental insufficiency
ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา
ดูแลให้ทารกได้รับนมมารดาภายหลังคลอดกรณีมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการรักษา
ป้องกันสาเหตุที่ส่งเสริมให้ทารกมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ป้องกันสาเหตุที่ส่งเสริมให้ทารกมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือด
เฝ้าระวังสังเกตอาการทางคลินิกของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างใกล้ชิดถ้าผิดปกติให้รายงานแพทย์
สาเหตุทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์จากมารดาเป็นเบาหวาน
ทารกคลอดก่อนกำหนดและน้ำหนักตัวน้อย
การพยาบาล
ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งหรือนอนศีรษะสูงเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
ดูแลให้ได้รับนมมารดาหรือนมผสมตามแผนการรักษา
ห่อตัวทารกให้อยู่ใต้ เรเดียนวอร์มเมอร์ 3.6.5 ถึง 37 องศาเซลเซียส
ดูแลและแนะนำมารดาบิดาในการป้องกันการติดเชื้อทำความสะอาดร่างกายทำความสะอาดสะดือ ไปตาด้วยยาปฏิชีวนะ
ดูแลให้วิตามินเค 1 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อเพื่อป้องกันภาวะเลือดออกง่าย
ลักษณะ
ศีรษะใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว
ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังขาวสีแดงและเหี่ยวย่น
แขนและขามีขนาดเล็ก
น้ำหนักตัวน้อย
นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี
รหัสนักศึกษา 602701098 เลขที่ 97