Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautifut mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautifut mind
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ด้านการรับรู้
ประสาทหลอนได้ยินเสียงหรือภาพที่ไม่มีอยู่จริง ส่งผลให้ผู้ป่วยหวาดระแวงตลอดเวลา
ด้านพฤติกรรม
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ทำร้ายตนเอง
การเคลื่อนไหว
เดินหลังค่อม
มองซ้ายขวา ตลอดเวลา
ด้านสังคม
ไม่มีสัมพันธภาพทางสังคม
ส่งผลทำให้ไม่มีเพื่อน
ทำให้มีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น
ทำให้มีปัญหาในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
มีความขัดแย้งในจิตใจ
ไม่สามารถปรับตัวกับการเผชิญปัญหา
อาการหลงผิด (delusion)
คือ การมีความเชื่อหรือความคิดที่ไม่ตรงจากความเป็นจริง เชื่อความคิดนั้นเป็นอย่างมาก
แบ่งออกเป็น
หลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักตัวเอง (Erotomanic Type)
เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น มีความหยั่งรู้พิเศษ (Grandiose Type)
หลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนนอกใจ (Jealous Type)
ระแวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต (Persecutory Type)
ลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง (Somatic Type)
อาการประสาทหลอน(Hallucination)
คือ การรับรู้ (Perception) สิ่งต่าง ๆ ทั้งที่ตามจริงแล้วไม่มีสิ่งที่รับรู้นั้นเกิดขึ้นหรือไม่มีสิ่งเร้า
แบ่งออกเป็น
เห็นภาพหลอน (Visual Hallucination)
อาการหูแว่ว (Auditory Hallucination)
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น (Olfactory Hallucination)
ประสาทหลอนทางการรับรส (Gustatory Hallucination)
ประสาทหลอนทางการสัมผัส (Tactile Hallucination)
ความแตกต่างของอาการหลงผิดกับประสาทหลอน
อาการหลงผิด เป็นความผิดปกติในเนื้อหาของความคิดแต่อาการประสาทหลอน เป็นการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่ผิดปกติ โดยไม่ได้มีสิ่งกระตุ้นจากภายนอก
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
Positive Symptoms
Psychotic dimension ได้แก่ อาการหลงผิด และอาการประสาทหลอน
Disorganization dimension ได้แก่ disorganized behavior และ disorganized speech
Negative Symptoms
พูดน้อย (Alogia)
การแสดงออกทางด้านอารมณ์ลดลง(Affective flattening)
ขาดความกระตือรือร้น (Avolition)
เก็บตัว (Asociality)
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง (Paranoid Schizophrenia)
อาการทางคลินิกที่เด่นๆก็คือ อาการหลงผิด ซึ่งมักเป็นชนิดหวาดระแวงอย่างคงที่ โดยปกติจะมีอาการประหลอนร่วมด้วย โดยเฉพาะอาการหูแว่ว และพบความแปรปรวนของการรับรู้
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
อาการประหม่า รู้สึกไม่สบายใจ อึดอัด กังวลใจ เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่มีผู้อื่นสังเกตจ้องมองตนเอง โดยมีอาการแสดง คือ ใจสั่น มือสั่น เสียงสั่น เหงื่อออกมาก อันเกิดจากความตื่นเต้นและความกังวลที่เกิดขึ้นในจิตใจ
โรคจิตหลงผิด Delusional Disorder
การมีความเชื่อหรือความคิดที่ไม่ตรงจากความเป็นจริง เชื่อความคิดนั้นเป็นอย่างมาก โดยปกติผู้ป่วยโรคหลงผิดจะยังคงใช้ชีวิตได้ตามปกติ ยกเว้นบางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความหลงผิด
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562
ครอบคลุมด้านการส่งเสริม การป้องกัน การควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพจิต การคุ้มครองสิทธิของบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพจิต และการอยู่ร่วมกันในสังคมของบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต
ประชาชนทั่วไปสามารถช่วยกันสังเกตอาการทางจิตของผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที โดยสังเกตจากลักษณะ ดังต่อไปนี้ คือ หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวงไร้เหตุผล พูดจาเพ้อเจ้อ พูดจาก้าวร้าว คิดว่าตนเองมีความสามารถพิเศษเหนือคนปกติ แต่งกายแปลกกว่าคนปกติ ร่วมกับมีแนวโน้มจะมีอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม เช่น พยายามฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเอง หรือ ทำร้ายผู้อื่น
หากประชาชนพบเห็นผู้ที่มีลักษณะที่กล่าวมาและมีภาวะอันตราย ให้ดำเนินการดังนี้
กรณีไม่เร่งด่วน
ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือ โทรสายด่วนสุขภาพจิต 1323 หากพิจารณาแล้วยังมีภาวะเสี่ยงอาการทางจิตไม่ทุเลา ให้ส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน
กรณีเร่งด่วน
คือ มีภาวะอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม ซึ่งมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้รีบโทรแจ้งสายด่วนการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 และสายด่วนตำรวจ 191
นอกจากนี้ ยังสามารถแจ้งบุคคลหรือหน่วยงานต่อไปนี้ ได้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) มูลนิธิกู้ชีพกู้ภัย อบต. เทศบาล
เพื่อให้เจ้าหน้าที่นำตัวเข้ารับการบำบัดรักษาตามกฎหมาย โดยส่งต่อที่โรงพยาบาลใกล้เคียง สถานบำบัดรักษา และโรงพยาบาลจิตเวช เพื่อทำการรักษาผู้ป่วยต่อไป
ประชาชน ชุมชน และสังคม สามารถมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชไม่ให้มีอาการกำเริบได้ ดังนี้
ช่วยกันดูแล ติดตามให้ผู้ป่วยกินยาอย่างต่อเนื่อง
เฝ้าระวัง สังเกตอาการ หากผิดปกติ หรืออาการกำเริบให้รีบแจ้งต่อเจ้าหน้าที่
ให้กำลังใจผู้ป่วย และสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาชุมชนได้
ร่วมพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย จากการถูกเอาเปรียบจากสังคม
ส่งเสริมอาชีพ หางานอดิเรกให้ทำ เพื่อฝึกสมาธิ และให้ผู้ป่วยมีรายได้ อธิบดีกรมสุขภาพจิตกล่าว
ยารักษาโรคจิต(Antipsychotic drugs)
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
Neuroleptics or typical antipsychotics (haldol,
mellaril, thorazine, prolixin, trilafon)
กลไกการออกฤทธิ์ : block D2 receptor เปืนหลัก
ยับยั้งการหลัง Dopamine
Atypical antipsychotics (clozaril, risperdal, mmo
zyprexa, seroquel
กลไกการออกฤทธิ์: block 5-HT2 and D2 receptor