Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful mind, วรลักษณา ธีราโมกข์.โรคจิตเภท (Schizophrenia).[เว็บบล็อก]…
A Beautiful mind
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง ( paranoid )
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
เห็นภาพหลอน(Visual Hallucination)
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
แยกตัวออกจากสังคม (social dysfunction)
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ด้านพฤติกรรม
กระสับการะส่ายเดินไปมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
ไม่ต้องการมีเพศสัมพันธ์ุ
หูแว่ว (Auditory Hallucination)
ได้ยินเสียงคนให้ทำตามคำสั่ง
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
Dopamine
มากเกินไป
เกิดความผิดปกติของพฤติกรรมสาเหตุของโรคจิตเภท
GABA
มากเกินไป
เกิดการส่งสัญญาณประสาทชนิดยับยั้งการทำงาน
น้อยไป
กระวนกระวาย วิตกกังวล
Norepinephrine
มากไป
อาการหลงผิดหรือประสาทหลอน
โรคซึมเศร้า
น้อยไป
ปวดหัว มือสั่น
ตื่นตัว
Serotonin
มากไป
นอนไม่หลับ
กระสับกระส่าย
ด้านครอบครัว
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความวิตกกังวล
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยเด็ก
รู้สึกว่าเพื่อนชอบแกล้ง เพราะตนเก่งและฉลาดกว่า
ไม่มีเพื่อนสนิทและมีปัญหาการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น
มีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์และทำการทดลองด้วยตนเอง
ชอบเก็บตัว
วัยรุ่น
คิดหมกหมุ่นเเละมีพฤติกรรมแปลกเพิ่มขึ้น
สนใจด้านคณิตศาสตร์
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
พบว่าชาร์ลยังปรากฏตัวอยู่กับเขาในหลายสถานการณ์
ชาร์ลเป็นเพื่อนคนเดียวที่เขาเล่าทุกอย่างให้ฟัง
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
นายจอร์น ฟอบส์ แนซ จูเนียร์
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซียและมีลูก 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
การมีความเชื่อ หรือความคิดไม่ตรงกับความเป็นจริง เรียกว่า อาการหลงผิด (delusion) ตั้งแต่ 1 เรื่องนานตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป
อาการ
ระแวงว่าตนถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกปองร้าย
ผูกเรื่องเชื่อมโยงไปในแนวทางเดียวกัน
ส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีประสาทหลอน
ประเภทของโรคจิตหลงผิด
หลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักตัวเอง (Erotomanic Type)
เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น มีความหยั่งรู้พิเศษ (Grandiose Type)
หลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนนอกใจ (Jealous Type)
ระแวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต (Persecutory Type)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ด้านจิตใจ
อาจเกิดจากการเลี้ยงดู ที่ไม่ได้รับความอบอุ่น ทำให้ไม่เชื่อใจใคร และมีความรู้สึกไวต่อท่าทีของผู้อื่น
ด้านสังคม
เกิดจากสังคมที่มีความเครียด
การแข่งขันสูง
การเอารัดเอาเปรียบ
ด้านชีวภาพ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่พบว่าสัมพันธ์กับสมองส่วนที่ควบคุมความเป็นเหตุผลและอารมณ์ความรู้สึก
การบำบัดรักษา
รับตัวรักษาในโรงพยาบาล หากอาการรุนแรง
การรักษาด้วยยา
เน้นที่สัมพันธภาพในการรักษา
รับฟังด้วยความเข้าใจ
ไม่โต้แย้งคัดค้านอาการหลงผิดว่าไม่จริง ในขณะเดียวกันก็ไม่สนับสนุนความเชื่อของผู้ป่วย
โรคจิตเภท(Schizophrenia)
อาการ
หลงผิด
ความเชื่อของผู้ป่วยที่ผิดไปจากความเป็นจริง
คิดว่าคนอื่นจะมาทำร้าย
ความคิดผิดปกติ
ผู้ป่วยมักพูดไม่เป็นเรื่องราว
เปลี่ยนเรื่องพูดโดยไม่มีเหตุผล
ประสาทหลอน
ได้ยินเสียงคนมาพูดด้วยทั้งๆ ที่ไม่มีใครพูดด้วย (หูแว่ว)
มองเห็นวิญญาณ (เห็นภาพหลอน)
มีพฤติกรรมผิดปกติ
ทำร้ายคนอื่น
อยู่ในท่าแปลกๆ ซ้ำๆ
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
พันธุกรรม
ความผิดปกติของสมอง
สารเคมีในสมองมีความผิดปกติและจากโครงสร้าง ของสมองบางส่วนที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
ด้านจิตใจ
ความเครียดในชีวิตประจำวัน
การบำบัดรักษา
การทำจิตบำบัด
โดยผู้เชี่ยวชาญพูดคุยกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและปัญหาของตนเองมากขึ้น
ครอบครัวบำบัด
แพทย์เป็นผู้ให้ความรู้ในเรื่องโรคและสิ่งที่ญาติควรปฏิบัติต่อผู้ป่วย
จัดกิจกรรมกลุ่มระหว่างผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยมีเพื่อนคอยสนับสนุนให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
การรักษาด้วยยา
เพื่อควบคุมอาการและลดการกำเริบซ้ำของโรค
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต 2551
มาตรา 18
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า
การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาทหรือการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใดที่อาจเป็นผลทำให้ร่างกายไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิม
ทำได้ในกรณีต่อไปนี้
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษาโดยทราบเหตุผล ความจำเป็น และประโยชน์ของการรักษา
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นอย่างยิ่ง หากมิได้บำบัดรัดษาอาจอันตรายถึงชีวิต
การบำบัดรักษา
การบำบัดรักษาทางกาย (Somatic Therapy)
การรักษาด้วยยา
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
ยาคลายกังวล ยานอนหลับ
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ECT 1 course (5 times per week /10 weeks)
ช่วยให้อาการทางจิตของผู้ป่วยทุเลาอย่างรวดเร็ว สามารถคงสภาพไม่ให้อาการกำเริบซ้ำ
เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตรุนแรงมีความจำเป็นต้องรับการรักษาเร่งด่วนเพื่อควบคุมอาการของผู้ป่วยให้สงบลง
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
เป็นวิธีการรักษาโดยใช้กระแสไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นต่ำผ่านสมองเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดอาการชัก ซึ่งจะส่งผลให้อาการทางจิตดีขึ้น
วรลักษณา ธีราโมกข์.โรคจิตเภท (Schizophrenia).[เว็บบล็อก].สืบค้นจาก
https://www.manarom.com/blog/schizophrenia.html
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. 2551.(2551,20 กุมภาพันธ์ ).ราชกิจจานุเบกษา หน้า 43
https://library2.parliament.go.th/giventake/content_law/law200251-37.pdf?fb
ดาวชมพู นาคะวิโร.โรคจิตหลงผิด.[เว็บบล็อก].สืบค้นจาก
https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article
แก้**