Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์เรื่อง A Beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์เรื่อง A Beautiful mind
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกด้วยกัน 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
ภรรยาไม่เคยพบหรือรู้จักเพื่อนของผู้ป่วยที่ชื่อนายชาร์ลส์
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว ไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ฟัง
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยไม่มีความรู้สึกอยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่แปลก
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ถูกครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
สภาพแวดล้อมรอบตัว
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายบุคคลรอบข้าง
ทำร้ายตนเอง
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
พัฒนาการตามวัย
ช่วงวัยรุ่น
ผู้ป่วยเริ่ม มีบุคลิกที่ดูเเตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
เมื่อเริ่มทำงาน
ชาร์ลส์อยู่กับเขาตลอดเเละเป็นเพื่อนคนเดียวที่สามารถพูดคุย
ผู้ป่วยหันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์เเละมุ่งมั่นในการเรี
ยน
เรียนปริญญาเอก
เริ่ม มีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลกๆเพิ่ม
มากขึ้น
พบว่าชาร์ลส์เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตเขา
ให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยเสมอ
มีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
ในวัยเด็ก
ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหา
ในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ผู้ป่วยเรียนเก่ง
ชอบก็บตัว
ไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการเเต่มีความสนใจในด้านวิทยาศ
าสตร์เเละทำการทดลองด้วยตนเองตั้งเเต่อายุ12ปี
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/
ประเภทของโรคจิตหลงผิด
เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น มีความหยั่งรู้พิเศษ (Grandiose Type)
หลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนนอกใจ (Jealous Type)
หลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักตัวเอง มักเป็นบุคคลสำคัญมีชื่อเสียง(Erotomanic Type)
ระแวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต (Persecutory Type)
หลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง(Somatic Type)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยด้านสังคม
มีความเครียด กดดัน การแข่งขันสูง การเอารัดเอาเปรียบ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าสัมพันธ์กับสมองส่วนที่ควบคุมความเป็นเหตุผลและอารมณ์ความรู้สึก
ปัจจัยด้านจิตใจ
อาจเกิดจากการเลี้ยงดู ที่ไม่ได้รับความอบอุ่น
การบำบัดรักษา
น้นที่สัมพันธภาพในการรักษา ความสัมพันธ์ที่ดีสามารถช่วยผู้ป่วยได้ โดยรับฟังด้วยความเข้าใจ
การรักษาด้วยยา
รักษาในโรงพยาบาล หากอาการรุนแรง เช่น มีความเสี่ยงต่อการทำร้ายตัวเอง หรือผู้อื่น
อาการประสาทหลอน (hallucination) ผศ.พญ.ทานตะวัน อวิรุทธ์วรกุล
https://tmc.or.th/pdf/tmc_knowlege-02.pdf
ผิดปกติด้านการรับรู้
ได้ยินเสียงหูแว่ว ได้ยิน
เสียงคนพูดคุยโดยไม่เห็นตัวคนพูด
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสมอง
เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ที่ชื่อว่า สารโดปามีน และ สารซีโรโตนิน
พบมีลักษณะกายวิภาคของสมองผิดปกติ
การรักษา
การรักษาด้วยยา เพื่อปรับสารสื่อประสาท
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
ความเข้าใจ
คนใกล้ตัวช่วยดูแล
การฟื้นฟูทักษะ
การฝึกดูแลตัวเอง
การเข้าสังคม
error
(๑) มีภาวะอันตราย
(๒) มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
ให้ดำเนินการนำตัวบุคคลนั้นไปยังสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษาซึ่งอยู่ใกล้โดยไม่ชักช้า เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น
ทฤษฎี Psychosocial development (ของ Erik H. Erikson)
http://www.eledu.ssru.ac.th/kalanyoo_pe/file.php/6/_3_.pdf
ระยะทารก (Infancy period) อายุ0-2 ปี :ขั้นไว้วางใจและไม่ไว้วางใจผู้อื่น
ระยะก่อนไปโรงเรียน (Preschool period) อายุ3-6 ปี : ข้ันมคีวามคิดริเริ่มกับ ความรู้สึกผิด
ระยะเข้าโรงเรียน (School period) อายุ6-12 ปี : ขั้นเอาการเอางานกับความมีปมด้อย
ระยะวยัรุ่น (Adolescent period) อายุ12-20 ปี : ขั้นการเข้าใจอัตลักษณะของตนเองกับไม่
เข้าใจตนเอง
ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period) อายุ20-40 ปี : ขั้นความใกล้ชิดสนิทสนมกับ
ความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว
วัยเริ่มต้น (Toddler period) อายุ2-3 ปี : ขั้นที่มีความเป็นอิสระกับความละอายและสงสัย
ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ40-60 ปี : ข้ันการอนุเคราะห์เกื้อกูลกับการพะว้าพะวงแต่
ตัวเอง
ระยะวัยสูงอายุ(Aging period) อายุประมาณ 60 ปีขึ้นไป : ขั้นความมั่นคงทางจิตใจกับความ
สิ้นหวัง
มาตรา ๑๗ การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ