Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind, เอกสารอ้างอิง
มาโนช หล่อตระกูล. (2561).…
A Beautiful Mind
-
กรณีศึกษา
-
-
พัฒนาการตามวัย
-
วัยรุ่น
ผู้ป่วยเริ่มหันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์และมุ่งมั่นในการเรียนจนจบปริญญาโททางด้านคณิตศาสตร์ด้วยอายุเพียง 20 ปี
-
-
-
-
อาการหลงผิด (Delusion)
สาเหตุ
-
ความวิตกกังวลในระดับสูง เรื้องรัง มีผลเปรเปลี่ยนเป็นพยาธิสภาพทางความคิด การใช้กลไกทางจิตป้องกันตนเองมากเกินไป
-
เป็นความเชื่อที่ผิด ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งทั้งที่ไม่เป็นความจริง ผู้ป่วยจะเชื่อมั่นอยู่เช่นนั้น และไม่สามารถเปลี่ยนความเชื่อถือได้ด้วยการอธิบายโดยใช้เหตุผลตามธรรมดาที่คนเราใช้กัน
การพยาบาล
- เสริมสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด และความไว้วางใจ ใช้ความคงเส้นคงวา และชัดเจนในการติดต่อสื่อสาร
-
- นำผู้ป่วยเข้าสู่ความเป็นจริง โดยการจัดให้มีกิจกรรมบำบัดที่เหมาะสม
-
- ระมัดระวังอันตรายที่เกิดกับผู้ป่วย และผู้ที่อยู่ข้างเคียง ในช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
1) ระยะควบคุมอาการ
-
ยามีส่วนสำคัญมาก จะทำให้อาการของผู้ป่วยสงบลงโดยเร็ว โดยกลางคืนนอนหลับได้ อารมณ์หงุดหงิดหรือพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง อาการกระสับกระส่าย หรือวุ่นวายก็จะดีขึ้น
2) ระยะให้ยาต่อเนื่อง
หลังจากที่อาการสงบลงแล้ว ผู้ป่วยยังจำเป็นต้องกินยาต่อเนื่องอยู่อีก ทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้กลับมามีอาการกำเริบขึ้นมาอีก
ขนาดของยาที่ใช้ในระยะนี้จะต่ำกว่าในระยะแรก ไม่มีการกำหนดขนาดแน่นอนว่าควรให้ยาขนาดเท่าไร แพทย์จะปรับขนาดยาในผู้ป่วยเป็นรายๆไป
ระยะเวลาในการรักษานั้น ส่วนใหญ่เห็นว่าในผู้ที่เป็นครั้งแรกนั้นหลังจากอาการโรคจิตดีขึ้นแล้วควรกินยาต่อไปอีกประมาณ 1 ปี หากผู้ป่วยมีอาการกำเริบครั้งที่สองควรกินยาต่อเนื่องไประยะยาว เช่น 5 ปี หากเป็นบ่อยกว่านี้ อาจต้องกินยาต่อเนื่องไปตลอด
ในช่วงที่รักษาด้วยยารักษาโรคจิต ผู้ป่วยบางคนอาจมีอาการข้างเคียงจากยา เช่น มือสั่น ทำอะไรช้าลง หรือปวดเกร็งกล้ามเนื้อ
การรักษาด้วยไฟฟ้า
เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าผ่านบริเวณศีรษะของผู้ป่วยในปริมาณน้อยๆ เพื่อทำให้เกิดการชักเหมือนกับในโรคลมชักการชักที่เกิดขึ้นนั้นอาจเห็นเพียงปลายแขนขยับเล็กน้อย
-
กระบวนการเหมือนกับที่ใช้ในการผ่าตัดทั่วๆ ไป แต่ระยะเวลาสั้นกว่ามาก โดยใช้เวลาทั้งหมดประมาณไม่ถึง 5 นาที การรักษาจะทำวันเว้นวัน ทำทั้งหมดประมาณ 10-12 ครั้ง อาจมากน้อยกว่า
-
พรบ.ที่เกี่ยวข้อง
พ.ร.บ.สุขภาพจิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิต โดยเพิ่มเติมการส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพจิต ควบคุมปัจจัยคุกคามด้านสุขภาพจิต ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยให้ได้รับการคุ้มครองจากการเผยแพร่ข้อมูลใดๆ ในสื่อทุกประเภท ตลอดจนเพิ่มสิทธิให้ผู้ดูแลเพื่อสามารถให้ดูแลผู้ป่วย อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยอย่างมีความสุข
สาระสำคัญตามพ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 มีผลในการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย และความปลอดภัยของสังคม ซึ่งประชาชนทั่วไปสามารถช่วยกันสังเกตอาการทางจิตของผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที โดยสังเกตจากลักษณะ ดังต่อไปนี้ คือ หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวงไร้เหตุผล พูดจาเพ้อเจ้อ พูดจาก้าวร้าว คิดว่าตนเองมีความสามารถพิเศษเหนือคนปกติ แต่งกายแปลกกว่าคนปกติ ร่วมกับมีแนวโน้มจะมีอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม เช่น พยายามฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเอง หรือ ทำร้ายผู้อื่น หากประชาชนพบเห็นผู้ที่มีลักษณะที่กล่าวมาและมีภาวะอันตราย ให้ดำเนินการดังนี้
- กรณีไม่เร่งด่วน ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือ โทรสายด่วนสุขภาพจิต 1323 หากพิจารณาแล้วยังมีภาวะเสี่ยงอาการทางจิตไม่ทุเลา ให้ส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน
- กรณีเร่งด่วน คือ มีภาวะอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม ซึ่งมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้รีบโทรแจ้งสายด่วนการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 และสายด่วนตำรวจ 191
-