Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cesarean Section - Coggle Diagram
Cesarean Section
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด
มีภาวะผิดสัดส่วนระหว่างศรีษะทารกและอุ้งเชิงกราน (Cephalopelvic Disproportion :CPD) ทำให้เด็กไม่สามารถคลอดได้
มีความผิดปกติของรก เช่น รกเกาะต่ำขวางทาออกของทารก
(Placenta Previa) หรือรกลอกตัวก่อนกำหนดทำให้มีการตกเลือดก่อนคลอด
มีภาวะแทรกซ้อนที่ต้องทำให้คลอดโดยเร็ว เช่น สายสะดือย้อย
(Umbilical cord Proapsed)
ทารกอยู่ในภาวะวิกฤติ Fetal Distress ภาวะความดดันโลหิตสูงครรภ์เป็นพิษอย่างรุนแรง หรือมีการแตกของมดลูก(Uterine Rupture)
มีการคลอดที่เนิ่นนาน(Prolong of Labor )
หรือประสบความล้มเหลวจากการชักนำการคลอด (Failue Induction)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่นท่าขวาง (Transverse Lie) ท่าก้น( Breech Presentation)หรือครรภ์แฝด
มารดาเคยผ่าตัดคลอดมาก่อน :red_flag:
ปี 2561 c/s due to Breech Presentation
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
1.Low Transverse Cesarean section
Low Transverse Cesarean section
เป็นการผ่าตัดแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูก :red_flag:
ทารกเพศหญิงคลอดเวลา 9.37 น
น้ำหนัก 2930 กรัม Apgarscore 9 คะแนน
IV : RLS 900 ml + syntocinon 10 Unit in IV 100 ml
ACETA 1000 ml + syntocinon 10 Unit in IV เดิม 700 ml
Blood Loss : 500 cc
R/F : 100 ml
Low vertical Cesarean section
การผ่าตัดตามแนวตั้งที่ส่วนล่างของผนังมดลูก
Classical incision เป็นการผ่าตัดในแนวตั้ง ที่บริเวณส่วนบนของมดลูกใกล้ๆกับยอดมดลูก
3.Inverted T-shaped incision ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลูกในแนวขวางแล้วทำคลอดทารกออกยากจึงต้องตัดเพิ่มเป็นรูปตัวทีกลับหัว
4.Cesarean Hyterectomy หรือ Porro cesarean section
เป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องตามธรรมดาร่วมกับผ่่าตัดเอามดลูกออก
5.E่xtraperitoneal cesarean section เป็นการผ่าตัดที่ผนังมดลูกโดยไม่ต้องผ่านเข้าภายในช่องท้องจะเลาะผ่าน Retzius space เข้าใต้กระเพาะปัสสาวะเข้าหามดลูกส่วนล่าง
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์อายุ 31 ปี G2P1A0 GA 38 wk by date
LMP : 28 กันยายน 2562 EDC by date 4 กรกฎาคม 2563
อาการสำคัญ : นัดมาผ่าตัด
ประวัติการตั้งครรภ์ : ปี 2561 c/s due to Breech Presentation
เพศชาย น้ำหนัก 2910 กรัม ปัจจุบันแข็งแรงดี
Vital sign : BT 36.7 , PR 78 bpm , RR 18 bpm , BP 111/64 mmHg
ผลการตรวจครรภ์ : 3/4 > O , Vx , HE ,OLA
การผ่าตัด
LT C/S with TR ( Low transverse cecarean section with Tubal Resection)
การผ่าตัดแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูกร่วมกับการทำหมัน
Under SpinalBlock with Morphine
ได้รับยายาระงับความรู้สึกแบบSpinalBlock
Morphine 0.3 mg : เฝ้าระวังอัตราการหายใจและอาการคลื่นไส้อาเจียน
Marcain 2.2 ml :เฝ้าระวัง ความดันโลหิตไม่ให้ต่ำกว่า 20% ของbaseline เดิม
ของความดันโลหิตครั้งที่เข้ามาที่ห้องผ่าตัด
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เตรียมด้ารร่างกายและจิตใจ, NPO 6-8 ชั่วโมง , Shape , ใส่สายสวนปัสสาวะ , G/M Hct UA , ให้สารน้ำ ,FHS V/S , เซ็นเอกสารยินยอม
ขณะผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือผ่าตัด เครื่องมือช่วยเหลือทารก , ทำความสะอาดหน้าท้อง ปูผ้า ,จัดท่า Tendelenberg , ช่วยเหลือแพทย์ ,บันทึกคลอด ,ประเมินร่างกายทารก ประเมินเลือดที่เสียไป ตรวจนับเครื่องมือ
หลังผ่าตัด
จัดท่านอนหงายราบไม่หนุนหมอน ,ประเมินแผลผ่าตัดทางหน้าท้อง,
ดูแลบรรเทาอาการปวด , ประเมินสัญญาณชีพ, บันทึกI/O ,ให้สารน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์ ,ช่วยเหลือทำกิจกรรม , กระตุ้น Ambulation
ประเภทของการผ่าตัดคลอด
Elective cesarean section คือ การผ่าตัดคลอดที่มีการวางแผนไว้ตั้งแต่ใกล้กำหนดครบคลอด 1-2 สัปดาห์ หรือเริ่มเข้าสู่ระยะคลอด
Emergency cesarean section คือ การผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน
ทำในกรณีไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ภาวะแทรกซ้อน
ขณะทำ
บาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
การบาดเจ็บต่อทารก
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูกจนถึงปากมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนจากยาสลบ เช่น กดการหายใจ ความดันโลหิตต่ำ
หลังทำ
เกิดการอักเสบเยื่อบุโพรงมดลูก
มีเลือดออกในช่องท้องภายหลังการผ่าตัด
ภาวะตกเลือด ร่วมกับภาวะ Shock
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
การผ่าตัดนำเอาทารกออกจากโพรงมดลูกโดยผ่านทางรอยผ่าที่ผนังหน้าท้องและรอยผ่าที่ผนังมดลูก