Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ANC
CASE No.9 - Coggle Diagram
ANC
CASE No.9
-
Problem List
มารดาเป็น GDMA2
แพทย์มีการรักษาคือ Insulin 4 units subcutaneous hs.
ประเมินวิธีการฉีดอินซุลินที่ถูกต้องกับมารดา หากไม่ถูกต้องให้อธิบายวิธีฉีดที่ถูกต้อง
-
NST (Non-stress test)
-
วิธีการตรวจ
-
เครื่องมือที่ใช้ตรวจ
-
-
-
Papergraph แผ่นกราฟบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารก การหดรัดตัวของมดลูก และเครื่องหมายแสดงการดิ้นของทารก
การตรวจ NST เป็นอุปกรณ์ Non invasive ไม่ืำให้เกิดการเจ็บปวด แต่จะมีเครื่องมือติดกับร่างกายหญิงตั้งครรภ์เพื่อบันทึกการเต้นของหัวใจและการเคลื่อนไหวของทารก
การแปลผล
Reassuring
แสดงอัตราการเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ เมื่อมีการเคลื่อนไหวมากกว่า 15/min และคงอยู่นานอย่างน้อย 15 วินาที ลักษณะนี้จะพบอย่างน้อย 2 ครั้ง ในช่วงระยะเวลานาน 20 นาทีต่อกัน โดยมีอัตราการเต้นของหัวใจเป็นพื้นฐาน ปกติคือ 110-160 bpm การเพิ่มอัตรมาการเต้นของหัวใจนี้เรียกว่า Fetal HR acceleration ซึ่งนับว่าปกติ
Non Reassuring
ไม่พบสิ่งที่เจอใน reasurring ในระยะเวลานานกว่า 40 นาที , อัตราการเต้นหัวใจพื้นฐานน้อยกว่าปกติ หรือ ตรวจไมท่พบเลย การลดอัตรมาการเต้นของหัวใจนี้เรียกว่า Fetal HR deceleration ซึ่งนับว่าปกติ
-
-
-
แนะนำหญิงตั้งครรภ์ชั่งน้ำหนัก
โดยชั่งเวลาเดิม แบบเดิมทุกวัน น้ำหนักในไตรมาสที่ 2และ3 ควรเพิ่มขึ้น 1.4-2 กิโลกรัม/เดือน หรือ0.35-0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์ เพื่อประเมินปัญหาสุขภาพและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้หากน้ำหนักเพิ่มเกินเกณฑ์ เช่น ทารกตัวโต หรือ ทารกคลอดก่อนกำหนด เป็นต้น
เสี่ยงการคลอดก่อนกำหนด
-
-
-
4 ป้องกันการติดเชื้อทางช่องปากและทางเดินปัสสาวะ ให้ทำความสะอาดด้วยการแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น สม่ำเสมอ และไม่กลั้นปัสสาวะ เมื่อทำกิจธุระในห้องน้ำเสร็จให้ทำความสะอาดอวัยวะพันธุ์ให้สะอาด แห้ง ไม่อับชื้น
-
-
-
เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
GDM
GDMA1
-
เบตาเซลล์ของตัดอ่อนถูกทำลายจากปฏิกริยาภูมิต้านทานภายในร่างกาย (Autoimmune) หรือติดไวรัสบางชนิด Ex. Rubella etc. จนไม่สามารถสร้างinsulin ได้ ทำให้น้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
GDMA2
-
-
-
-
เบตาเซลล์ของตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก เบตาเซลล์ลดลง 40-50 %
ผลกระทบของโรค
-
ทารก :<3:
ทารกในครรภ์
-
-
-
ทารกคลอดก่อนกำหนด
หญิงตั้งครรภ์มีประวัติคลอดบุตรก่อนกำหนด
บุตรคนที่ 4 : ปี 2557 Preterm NL เพศชาย น้ำหนัก 3200 กรัม ตัวเหลือง
-
-
การคัดกรองเบาหวาน
ข้อบ่งชี้
-
-
-
-
-
-
มีประวัติไม่ดีทางสูติศาสตร์
- ทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ
- ทารกพิการโดยกำเนิด
- มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4000 กรัม
- ทารกเสีชีวิตในครรภ์
-
-
-