Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A Beautiful Mind, นางสางศิลาพรรณ ศรีชัย เลขที่ 78 A รหัส…
ภาพยนต์สั้น A Beautiful Mind
“ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือไม่ "
ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษา
เหตุผล
เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการประสาทหลอนมีการสร้างตัวละครขึ้นมาโดยที่ไม่มีอยู่จริง ได้ยินเสียงที่ผู้อื่นไม่ได้ยินและมีการพูดโต้ตอบอย่างเป็นเรื่องราว เมื่อเขาเลิกรับประทานยาก็จะมีอากการประสาทหลอนอีกครั้งจนเกือบทำให้ลูกของตนเองเสียชีวิตและเกือบทำร้ายร่างกายภรรยาโดยไมไ่ด้ตั้งใจ
สาเหตุของการเจ็บป่วย
มีคนมามาติดต่อให้เขาทำงานเป็นสายลับคอยถอดรหัสทางการทหารจากนิตยสาร และทำงานอย่างลับๆ
คิดว่ามีคนสะกดรอยตามเขาอยู่ตลอดและพยายามจะทำร้ายเขา
ผู้ป่วยกลัวถูกทำร้ายมาก
แต่พยายามเก็บเป็นความลับไม่ให้ใครรู้เนื่องจากเขาทำงานเป็นสายลับ
ไม่คิดว่าตนเองเจ็บป่วยทางจิต
ที่ตนเองแสดงพฤติกรรมแปลกๆเพราะต้องรักษาความลับทางการทหารเพื่อความมั่นคงของชาติและที่วิ่งหนีออกมาจาก ที่ทำงานเพราะมีคนสะกดรอยตามและกำลังจะทำร้ายเขา
ทำนายโรคที่อาจจะเกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
ชนิดของโรคจิตเภท
Simple Type
ขาดความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอกและสิ่งแวดล้อมภายนอกโดยสิ้นเชิง
บุคลิกภาพเปลี่ยนไปในทางเสื่อม
เก็บตัวอยู่ตามลำพังคนเดียว อารมณ์เฉยเมย
ไม่มีความคิดหลงผิด
ประสาทหลอน
Disorganized Type (Hebephenic)
มีอาการประสาทหลอน และความคิดหลงผิด
ความดิคและคำพูดไม่สอคคล้องกัน (incoherence)
โรคจิตเภทชนิดนี้มักป็นเรื้อรัง
Catatonic Type
มีความผิดปกติที่พฤติกรรมการเคลื่อนไหว
Paranoid Type
หวาดระแวงหลงผิดมีอาการโกรธง่าย
ชอบทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
Schizoaffective
มีอาการเฉียบพลันอาการเข้าได้กับโรคจิตเภท
มีอารมณ์เศร้าร่วมกับอาการเบื่ออาหาร นอนไม่หลับ
เบื่อชีวิตคิดอยากตามีอัตราการฆ่าตัวตายบ่อยกว่าโรค
Undifferentiated Type
มีอาการของโรคจิตเภทไม่ชัดเจนไม่สามารถจัดเข้าประภทอื่น ๆ
Residual Type
เคยป็นโรคจิตเภทชนิดใดหนิดหนึ่งมาก่อนแล้ว
ชอบนั่งแยกตัวอยู่คนเดีวสีหน้าเฉยเมย ไม่ค่อยแสดงความรู้สึก
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง(Schizophrenia paranoid)
โรคจิตหลงผิด(Delusional disorder)
พัฒนาการตามช่วงวัย
ในช่วงวัยเด็ก
ผู้ป่วยเป็นเด็กเรียนเก่ง ชอบทำอะไรด้วยตนเอง
เป็นคนเก็บตัว,ชอบอยู่คนเดียว
ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ผู้ป่วยไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการ
ในช่วงวัยรุ่น
ผู้ป่วยหันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์
ผู้ป่วยเริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
ยังคงเป็นคนเก็บตัวและไม่มีเพื่อนสนิท
เริ่มมีความคิดว่านักคณิตศาสตร์มีความสำคัญต่ออนาคตของอเมริกา
ผู้ป่วยพบว่ามีเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัยคนหนึ่งชื่อนายชาร์ลส์ (Mr. Charles)
หลังจบปริญญาเอกและทำงาน
ผู้ป่วยพบว่านายชาร์ลส์ยังมาปรากฏตัว
อยู่กับเขาบางครั้งยังมีหลานสาวตามมาด้วย
ผู้ป่วยเริ่มสร้างห้องทำงานลับที่ใช้ทำงานสายลับถอดรหัสจากนิตยสารต่างๆ
ผู้ป่วยมีแฟนและตัดสินใจแต่งงานกันในที่สุด
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
อาการสำคัญ
หวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้าย
วิ่งหนีด้วยความหวาดกลัวออกจาก
ที่ทำงานและมีเพื่อนนำส่งโรงพยาบาลจิตเวช
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
มองซ้ายขวาตลอดเวลา
กระสับกระส่ายเดินไปเดินมา
ประสาทหลอน
หูแว่ว
เสียงที่ต้วผู้ป่วยคุยกับเพื่อนที่ชื่อชาร์ล
เสียงผู้ชายที่ชื่อจอร์นว่าเหมือนจะมายิงภรรยาตนเอง
เห็นภาพหลอน
เห็นเพื่อนที่ชื่อชาร์ลกำลังมาดูลูกแทนผู้ป่วยตอนที่ผู้ป่วยกำลังจะอาบน้ำให้ลูก
เห็นกลุ่มคนสะกดรอยตามเขาไปถึงที่ทำงาน
คิดว่ามีคนอยู่กับเขาตลอดเวลา
คิดว่ามีคนพยายามจะมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
พยายามนำรหัสกัมมันตภาพรังสีที่ข้อมือออก
ทำร้ายคนในครอบครัวโดยไม่ได้ตั้งใจ
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
ใบหน้าเฉยเมยไร้ความรู้สึก
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยากิน
ยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ประเด็นที่สงสัย
ผลข้างเคียงจากการรักษามีอะไรบ้าง
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนมีความแตกต่างกันอย่างไร
ผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาด้วยยากลุ่มใดและเป็นยาตัวไหนถึงจะเหมาะสม
การเลี้ยงดูของครอบครัวในวัยเด็กมีผลต่อการป่วยทางจิตหรือไม่
สาเหตุที่แท้จริงของผู้ป่วยรายนี้คืออะไร
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด
การพยาบาล
ประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมและการกระทำของผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยคิดว่าเขาควรจะตายผู้ป่วยจะพยายามฆ่าตวัตาย หรือมีคนจะทำร้าย
พยาบาลต้องตระหนักว่าความคิดของผู้ป่วยเป็นความคิดที่ยึดแน่นและผู้ป่วยเชื่อว่าเป็นจริงตามนั้น
ยอมรับในความคิดหลงผิดของผู้ป่วยโดยพยาบาลไม่ควรโต้แย้ง หรือท้าทายว่าที่ผู้ป่วยเล่าให้ฟ้งนั้นไม่จริงและพยาบาลไม่ต้องปฏิบัติตามที่ผู้ป่วยเชื่อและไม่ควรนำคำพูดของผู้ป่วยไปพูดล้อเล่น
การเข้าไปเปลี่ยนความคิดของผู้ป่วยน้นั้นกระทำได้ค่อนข้างยากแต่ถ้าผู้ป่วยมีความไวว้างใจและเชื่อถือในตัวพยาบาลการแสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้งกันด้วยการให้ความจริง ( Present reality) ยังเป็นที่ยอมรับได้
พยาบาลต้องให้ความสำคัญกับการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อ
เป็นแนวทางให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความคิดของเขาได้อ้ย่างอิสระและเพื่อไดรับฟังความคิดของผู้ป่วย
อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่นเนื่องจากมีอาการประสาทหลอน
การพยาบาล
พยาบาลต้องประเมินอาการประสาทหลอนที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยว่าเกี่ยวขอ้งกับระบบรับสัมผัสใด ผู้ป่วยแสดงปฏิกิริยาอย่างไรต่อการรับรู้นั้น ๆ และอาการประสาทหลอนเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเพื่อให้การพยาบาลที่ถูกต้อง
ถ้าพยาบาลพบผู้ป่วยที่กำลังแสดงอาการประสาทหลอน พยาบาลควรบอกสิ่งที่เป็นจริง
(Present reality)กับผู้ป่วยในขณะนั้นเพื่อให้ผู้ป่วยรับรู้ความจริงที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน
ในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้าย อย่าพยายามอธิบายว่าไม่จริง จะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าไม่เข้าใจผู้ป่วย ควรรับฟังในสิ่งที่ผู้ป่วยพูดโดยไม่เสริมในอาการหลงผิดของผู้ป่วยและแสดงความเห็นอกเห็นใจในความกลัวของผู้ป่วย จะทำให้ผู้ป่วยสงบลงได้
พยาบาลต้องแสดงการยอมรับอาการประสาทหลอนของผู้ป่วย ซึ่งทำได้โดยการรับฟังและไม่โต้แย้ง
หลีกเลี่ยงการเข้าไปจับต้องตัวผู้ป่วยก่อนผู้ป่วยจะรู้ตัวเพราะผู้ป่วยมีแนวโน้มจะตีความหรือรับรู้ผิด
ให้ผู้ป่วยแยกแยะว่าอาการประสาทหลอนที่เกิดขึ้นนั้นเขารู้สึกอย่างไรอาการเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดหรือมีเหตุการณ์อะไรนำมาก่อนเพราะผู้ป่วยจะได้รู้จักป้องกันตนเองไม่ให้เกิดอาการรุนแรงขึ้น
การทำจิตบำบัด เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและปัญหาของตนเองมากขึ้น และเรียนรู้ที่จะแยกแยะสิ่งที่เป็น
และไม่ใช่ความจริง
นางสางศิลาพรรณ ศรีชัย เลขที่ 78 A รหัส 613601084