Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A beautiful mind, นางสาวศศิธร ยิ้มเเย้ม เลขที่ 73 ห้อง 2B …
ภาพยนต์สั้น A beautiful mind
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
ภรรยาชื่อนางอลิเซีย (Mrs. Alicia) มีลูกด้วยกัน 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
ความสัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกหมุ่นเกือบทําร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยมีความคิดและพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยไม่มีความรู้สึกไม่อยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ผู้ป่วยไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ภรรยาฟัง
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตําหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
สภาพแวดล้อมรอบตัว
ต้องการเป็นที่ยอมรับจากทุกๆคน
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
การคาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
การรักษา
การบำบัดด้านจิตสังคม
ครอบครัวบำบัด
จิตบำบัด
กลุ่มบำบัด
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยไฟฟ้าECT
ลักษณะทางคลินิก
ประเภทอาการหลงเหลือหลังเจ็บป่วย Residual คือผู้ป่วยเคยมีประวัติการเจ็บป่วยด้วยจิตเภทอย่างน้อย 1 ครั้ง
ประเภทจำแนกไม่ได้ Undifferentiated คือเป็นผู้ป่วยที่มีอาการเข้ากันได้กับจิตเภท แต่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้อย่างชัดเจน
ประเภทหวาดระแวง Paranoid คือผู้ป่วยจะมีความคิดทางผิดและมีภาวะประสาทหลอนประเภทว้าวุ่นสับสน Disorganized คือการพูดสับสน
ประเภทพฤติกรรมคงรูปเต็ม Coctatonic คือเป็นจิตเภทที่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อที่ควบคุมการเคลื่อนไหว
สาเหตุของโรค (ทฤษฎี)
ปัจจัยทางชีวภาพอาการของโรคจิตเภทเกิดจากสารสื่อประสาทที่เรียกว่า Dopamine ทำงานมากเกินไป
ปัจจัยทางจิตใจอาการโรคจิตเภทเกิดจากความผิดปกติในหน้าที่ Ego บุคคลที่มีความไวต่อความเครียดจะเกิดโรคจิตเภทมากกว่ที่คนทั่วไป
ปัจจัยทางกรรมพันธ์ในบุคคลครอบครัวเดียวกันพบว่าการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของโรคจิตเภทเกิดขึ้นในแฝดไข่ใบเดียวกัน
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมโรคจิตเภทมักพบในคนจนมากกว่าคนรวยเพราะต้องเผชิญกับความเครียดเรื่องเศรษฐกิจมากกว่า
การดำเนินโรค
ระยะอาการกำเริบ
เป็นกลุ่มอาการด้านบวกพูดสับสนคิดไม่ต่อเนื่องหลงผิดประสาทหลอนหูแว่วหุนหันพลันแล่นอารมณ์ครั้นเครงร่าเริงผิดปกติ
ระยะอาการหลงเหลือ
เป็นกลุ่มอาการด้านบวกพูดสับสนคิดไม่ต่อเนื่องหลงผิดประสาทหลอนหูแว่ว หุนหันพลันแล่น อารมณ์ครื้นเครงร่าเริงผิดปกติ
ระยะเริ่มมีอาการ
ผู้ป่วยส่วนใหญ่เริ่มมีอาการแบบค่อยเป็นค่อยไปมักมีปัญหาในด้านหน้าที่ความรับผิดชอบหรือด้านสัมพันธภาพการเรียนการทำงานแย่ลง
การวินิจฉัยโรคตาม DSM 5
ทฤษฎี
อาการของความผิดปกติต่อเนื่องอย่างน้อย 6
ระดับความสามารถในด้านต่างๆลดลงอย่างชัดเจน
อาการไม่ได้เป็นจากยาสารเสพติดหรือโรคทางกาย
ไม่มีอาการเข้าได้กับ้กับ Schizoaffective disorder
depressive disorder หรือ Bipolar disorder
มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 อาการในช่วง 1 เดือน
ความผิดปกติของคำพูด
ความผิดปกติของพฤติกรรม
อาการหลงผิด
ประสาทหลอน
อาการทางลบ
อาการเเละอาการเเสดง
อาการทางบวกพูลสับสนคิดไม่ต่อเนื่องหลงผิดประสาทหลอนหูแว่วหุนหันพลันแล่นอารมณ์ครื้นเครงร่าเริงผิดปกติ
อาการทางลบพูดน้อยหรือไม่พูดเลยแยกตัวอารมณ์เฉยเมยสีหน้าเรียบเฉยขาดความสนใจในกิจกรรมขาดความสุขซึมเศร้าสมาธิแย่ลงการตอบสนองบกพร่อง
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
ระบาดวิทยา พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงมักพบในช่วงวัยรุ่น
การรักษา
ยาที่นิยมใช้ ได้แก่ ยาในกลุ่ม SSRI เช่น paroxetine
benzodiazepine o clonazepam พบมีรายงานว่าใช้ได้ผลดีในกรณีที่เป็นความกลัวที่เฉพาะเจาะจงต่อบางสถานการณ์
ลักษณะอาการทางคลินิกเป็นความกลัวต่อการต้องไปอยู่ในสถานที่ที่ผู้ป่วยอาจถูกผู้อื่นจ้องมอง
เกณฑ์การวินิจฉัย
พยายามที่จะหลบเลี่ยงหรือต้องอดทนมากต่อสถานการณ์ที่กลัวนั้น
กลัวกังวลหรือพยายามหลบหลีกจนมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวันสังคมการงานบกพร่อง
มีอาการกลัวกังวลหรือพยายามหลบหลีกนานอย่างน้อย 6 เดือน
อาการดังกล่าวไม่ได้เป็นผลจาการใช้ยาหรือสารเสพติด
มีความกลัวหรือความวิตกกังวลอย่างมากเกินไปต่อสถานการณ์ที่อาจถูกจับร้องโดยผู้อนเช่นการเข้าสังคมการพูดคุย, การพบปะกับบุคคลที่ไม่ใช่คนในครอบครัว) การถูกสังเกต (การกิน / การดื่ม), การแสดงต่อหน้าคนอื่น
ประเด็นที่สงสัย
ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
หรือสมควรได้รับการดูแลที่บ้านโดยคนในครอบครัว
คิดว่าผู้ป่วยควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลโดยมีผู้ดูเเลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเเสดงของโรคที่เป็นอันตรายต่อตนเองเเละบุคคลรอบข้าง อีกทั้งผู้ป่วยยังรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง จึงสมควรได้รับการดูเเลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ
พัฒนาการในวัยเด็กส่งผลกระทบหรือไม่
คิดว่าพัฒนาการในวัยเด็กมีผลกระทบต่อการเเสดงออกของผู้ป่วย เนื่องจากในวัยเด็กผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว ชอบอยู่คนเดียว ไม่มีเพื่อน คิดว่าผู้อื่นไม่ชอบตนเอง เมื่อโตขึ้นมีความสนใจด้านคณิตศาสตร์ โดยให้ความสนใจมากจนถึงขั้นหมกมุ่น บุคลิกภาพเปลี่ยนไป เเละไม่สนใจสิ่งรอบข้าง
พรบ.สุขภาพจิต 2551
มาตรา ๒๓ ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิตคือมีภาวะอันตรายหรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตำรวจโดยเร็ว
เร็วมาตรา ๒๔ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตำรวจได้รับแจ้งหรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิตให้ดำเนินการนำตัวผู้นั้นไปยังสถานพยาบาลเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโดยการนำตัวบุคคลดังกล่าว ไปสถานพยาบาลจะไม่สามารถผูกมัดร่างกายของบุคลนั้นได้เว้นแต่ความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อบุคคลนั้นเองบุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่น
มาตรา ๑๗ การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกายการกักบริเวณหรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้
เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเองบุคคลอื่นหรือทรัพย์สิน
ของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
มาตราที่ 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า
(Electroconvulsive Therapy, ECT) ให้กระทำได้ในกรณีที่ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ระยะควบคุมอาการเป็นการรักษาในช่วงอาการกำเริบทำให้อาการของป่วยส่งบลงโดยเร็ว
ระยะให้ยาต่อเนื่องหลังจากที่อาการสงบลงแล้วผู้ป่วยยังจำเป็นต้องกินยาต่อเนื่องอยู่อีกทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้กลับมามีอากากำเริบขึ้นมา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
กระแสไฟที่ใช้มีขนาดต่ำมากไม่มีอันตรายต่อสมองอย่างแน่นอนโดยใช้เวลาทั้งหมดประมาณไม่ถึง 5 นาที การรักษาจะทำวันเว้นวัน
ใช้กระแสไฟฟ้าผ่านบริเวณศีรษะของผู้ป่วยในปริมาณน้อย ๆ เพื่อทำให้เกิดการชักเหมือนกับในโรคลมชัก
การฟื้นฟูสภาพจิตใจ
การให้คำปรึกษาเเก่ผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ
การฝึกการเข้าสังคมเเละการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
การทำจิตบำบัด
ครอบครัวบำบัด
อาการและอาการเเสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนทําร้าย
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทําร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายผู้อื่น
ทําร้ายตนเอง
ด้านพฤติกรรม
มองซ้าย-ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
เดินหลังค่อม
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
นางสาวศศิธร ยิ้มเเย้ม เลขที่ 73 ห้อง 2B
รหัสนักศึกษา 613601181
อ้างอิง
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.(2560). คู่มือดูเเลผู้ป่วยโรคจิตเภทสำหรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ.สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2363. จาก
http://mhtech.dmh.moph.go.th/fileupload/2020022638675188.pdf
มาโนช หล่อตระกูล.(2557). โรคจิตคืออะไร. สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th