Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind - Coggle Diagram
A Beautiful Mind
ประสาทหลอน (hallucination)
สาเหตุของอาการประสาทหลอน
ด้านร่างกาย
เกิดการเจ็บป่วยทางกาย มีพยาธิสภาพที่สมอง ภาวะติดเชื้อที่สมอง การขาดการพักผ่อนนอนหลับ ภาวะผิดปกติของสารเคมีในร่างกาย การได้รับสารพิษ แอลกอฮอล์ สิ่งเสพติดอื่น ๆที่มีผลต่อการการทางานของระบบประสาท
ด้านจิตใจ
มีความเครียดทางจิตใจ เกิดความรู้สึกวิตกกังวลมาก รู้สึกถูกทอดทิ้งไม่สามารถหาทางออกได้ จึงทำให้การรับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมผิดไป
รับรู้โดยไม่มีสิ่งมากระตุ้น
Visual hallucination
ประสาทหลอนทางตา เห็นภาพหลอน
Tactile Hallucination
ประสาทหลอนทางการสัมผัส
Auditory hallucination
ประสาทหลอนทางการได้ยิน
Olfactory Hallucination
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น
Gustatory Hallucinatio
n ประสาทหลอนทางการรับรส
การรักษา
รักษาด้วยยา
โดยจะต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
การดูแลรักษาด้านจิตใจ และสังคม
ความเข้าใจ การยอมรับจากคนในครอบครัว และผู้ที่เกี่ยวข้อง จะเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้อย่างมาก
คนใกล้ตัวช่วยดูแลการรับประทานยาของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องเนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีความเข้าใจว่าตนเองไม่ป่วย จึงไม่ค่อยร่วมมือรับประทานยา
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติที่แสดงออกทางร่างกาย
: ไม่กล้าสบตา เสียงสั่น พูดตะกุกตะกัก ใจเต้นแรง เหงื่อออกมาก
ความผิดปกติที่แสดงออกทางพฤติกรรม
: มีมนุษยสัมพันธ์ค่อนข้างต่ำ ชอบปลีกตัวไปหลบอยู่คนเดียวบ่อยๆ ไม่กล้าทำอะไรด้วยตนเองโดยลำพัง จำเป็นต้องมีเพื่อนอยู่ข้างๆ
ความผิดปกติที่แสดงออกทางอารมณ์และความคิด
: รู้สึกประหม่าและหวาดกลัวทุกครั้งที่ต้องพูดคุยกับคนอื่น หรือพูดไม่ออกเมื่ออยู่ต่อหน้าคนอื่น
สาเหตุของการเกิดโรคกลัวสังคม
มักเคยเจอกับสถานการณ์บางอย่างที่ทำให้รู้สึกแย่ จนกลายเป็นความฝังใจ
การรักษา
ให้ฝึกการผ่อนคลาย
ให้ฝึกเข้าสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ให้กำลังใจ สนับสนุน
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง (Schyzophrenia paranoid)
สาเหตุการหวาดระแวง
ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่พบเจอ
: เคยประสบเหตุการณ์เสี่ยงตาย ต้องอยู่เพียงลำพัง หรือเผชิญสถานการ์ที่รู้สึกกดดันและเครียดนั้นมักเกิดความรู้สึกในแง่ลบกับตัวเอง
ภาวะพักผ่อนไม่เพียงพอ
สิ่งแวดล้อมภายนอก
: ที่อาศัยอยู่ในที่ห่างไกลจากผู้คนหรือชอบแยกตัวออกจากสังคม
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาและสารเสพติด
อาการและอาการแสดง
แยกตัวอยู่คนเดียว ไม่ไว้ใจใครง่าย ๆ ระแวงผู้อื่นตลอดเวลา มีพฤติกรรมก้าวร้าว ประพฤติตัวไม่เป็นมิตรกับบุคคลรอบข้าง มองโลกในแง่ร้าย เข้าสังคมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนยาก
การรักษา
การใช้ยากิน
จิตบำบัด
ช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ที่จะยอมรับข้อบกพร่องของตน เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเอง รู้จักรับมือกับอารมณ์และแสดงออกอย่างเหมาะสม
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
ประเภทของโรคจิตหลงผิด
Jealous Type
หลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนนอกใจ
Persecutory Type
ระแวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต
Grandiose Type
เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น มีความหยั่งรู้พิเศษ
Somatic Type
หลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง
Erotomanic Type
หลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักตัวเอง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยด้านสังคม
: เกิดจากสังคมที่มีความเครียด กดดัน การแข่งขันสูง การเอารัดเอาเปรียบ ทำให้รู้สึกว่าถูกผู้อื่นคุกคาม หรือรู้สึกว่าได้รับการกระทำที่ไม่ดีจากผู้อื่น จึงมีความระแวงได้มากขึ้น
ปัจจัยด้านชีวภาพ
: ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่พบว่าสัมพันธ์กับสมองส่วนที่ควบคุมความเป็นเหตุผลและอารมณ์ความรู้สึก
ปัจจัยด้านจิตใจ
: อาจเกิดจากการเลี้ยงดู ที่ไม่ได้รับความอบอุ่น ทำให้ไม่เชื่อใจใคร และมีความรู้สึกไวต่อท่าทีของผู้อื่น
การรักษา
เน้นที่สัมพันธภาพในการรักษา
ความสัมพันธ์ที่ดีสามารถช่วยผู้ป่วยได้ โดยรับฟังด้วยความเข้าใจ ไม่โต้แย้งคัดค้านอาการหลงผิดว่าไม่จริง ในขณะเดียวกันก็ไม่สนับสนุนความเชื่อของผู้ป่วย
การรักษาด้วยยา
ด้วยยารักษาโรคจิตโดยอยู่ในความดูแลของแพทย์
จากโจทย์ข้อมูลคิดว่าผู้ป่วยเป็นโรค
โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง (Paranoid Schyzophrenia)
ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว มีความคิดหมกหมุ่น มีพฤติกรรมแปลกๆ
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี
ประสบการณ์ในอดีตไม่ดี โดนเพื่อนแกล้ง
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง มีคนสะกดรอยตาม คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ไม่ชอบเข้าสังคม ไม่มีเพื่อน ชอบอยู่คนเดียว
พูดกระตุกกระตัก พูดรัวเร็ว
พฤติกรรม
มองซ้ายขวา ตลอดเวลา กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
ควบคุมตนเองไม่ได้ทำร้ายครอบคครัว ทำร้ายตนเอง
การรับรู้ตนเอง
ไม่คิดว่าตนเองเจ็บป่วยทางจิตที่ตนเองแสดงพฤติกรรมแปลกๆเพราะต้องรักษาความลับทางการทหารเพื่อความมั่นคงของชาติ
คิดว่าหมอที่รักษาเป็นสายสืบรัสเสีย
การรักษา
โดยแพพทย์จะให้ยากิน Clozapine 100 mg 1x1 oral pc.
การดูแล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกคับข้องใจ ที่อาจเป็นสาเหตุจากพฤติกรรมการแยกตัว
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้ป่วยร่วมกับผู้อื่น
ประเมินอาการหวาดระแวง โดยสังเกตุสีหน้าท่าทาง คำพูดและพฤติกรรมผู้ป่วย เพื่อทราบระดับความรุนแรงการหวาดระแวง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้าย อย่าโต้แย้งตอบว่าไม่จริงควรรับฟังในสิ่งที่ผู้ป่วยพูดโดยไม่เสริมในอาการหลงผิดของผู้ป่วยและแสดงความเห็นอกเห็นใจในความกลัวของผู้ป่วย จะทำให้ผู้ป่วยสงบลงได้
กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑ มีสาระสำคัญคือ การนำบุคคลที่มีภาวะอันตรายหรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาให้ได้รับการบำบัดรักษา ภาวะอันตรายที่กล่าวถึงคือ อันตรายที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติทางจิต ที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิดหลงผิดหรือพฤติกรรมที่เป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๒ ฉบับปรับปรุงล่าสุด