Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง, การปรับตัวด้านจิตสังคม…
การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย มารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ
ปากมดลูด หลังคลอดทันที ปากมดลูกนุ่มมาก ไม่เป็นรูปร่าง จะแข็งและเป็นรูปร่างมากขึ้นใน 6 สัปดาห์หลังคลอด
ช่องคลอด เยื่อพรมจารี (Hymen)
ฉีกขาดอย่างถาวร ช่องคลอดอ่อนนุ่มมาก
น้ำคาวปลา
ชั้นที่ติดอยู่กับกล้ามเนื้อมดลูก (Decidua basalis)
ชั้นที่อยู่ติดกับโพรงมดลูก (decidua spongiosa) หรือ น้ำคาวปลา
3 วันแรกหลังคลอด น้ำคาวปลาสีแดเข้ม (Lochia rubra)
4-9 วันหลังคลอด เปลี่ยนจากสีแดงเป็นแดงจางๆ หรือ ชมพูอ่อนๆ (Lochia serosa)
10-14 วันหลังคลอด เริ้มเป็นสีขาว (Lochia albra)
ฝีเย็บ มีกรยืดขยายกล้ามเนื้อฝีเย็บ
มดลูกมีการเข้าอู่ อาศัย 2 กระบวนการ
มดลูกขาดเลือดไปเลี้ยง (Ischemia)
การย่อยตัวเอง (Autolysis or self digestion )
การเปลี่ยนแปลง
ระบบต่างๆของร่างกาย
ระบบการไหลเวียนโลหิต ใน 3 วันหลังคลอดควรตรวจหา ฮีโมโกบินในเลือด หากต่ำว่า 10 g ในเลือด100 ml ควรให้ได้รับธาตุเหล็กเพิ่ม
ระบบทางเดินอาหาร กระตุ้นให้ได้รับน้ำ 2500 ml ต่อวัน ทานอาหารที่มีกากใย
ระบบทางเดินปัสสาวะ มักถ่ายปัสสาวะลำบาก และเป็นมากขึ้นหากแผลฝีเย็บบวม ปกติมารดาหลังคลอด ควยขับถ่ายปัสสาวะได้เองภายใน 6-8 ชม.
ระบบผิวหนัง บริเวณลานนม หัวนม เส้นกลางท้องจะจางลง แต่รอยแตกบนหน้าท้องจะชัดเจนขึ้น อาจมีผมร่วงเป็นหย่อมๆ
ระบบฮอร์โมน
ฮอร์โมนจากรก ภายใน 24 ชม. หลังคลอดจะตรวจไม่พบ HPL และ HCS และ HCG ลดลง
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง Prolactin ในกระแสเลือดจะสูงขึ้นเรื่อยๆ และสูงนาน 1 ปีหากให้นมบุตรสม่ำเสมอ ส่วน FHS และ LH จะต่ำลงในวันที่ 10-12 หลังคลอด
ผลของการเปลี่ยนแปลงในทางลดลง
น้ำหนักลดหลังคลอดประมาณ 5-6 กิโลกรัม
ความอ่อนเพลีย สูญเสียพลังงานในการคลอด หลังคลอดทันทีมารดามักอ่อนเพลียและง่วงนอน
สัญญาณชีพ
ชีพจร ลดลง อยู่ในช่าง 60-70 ครั้งต่อนาที
ความดันโลหิต มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
อุณหภูมิ สูงขึ้นได้แต่ไม่เกิน 38 องศสเซลเซียส
การเปลี่ยนแปลงในทางก้าวหน้า
การหลังน้ำนม เต้านมถูกกระตุ้นด้วยฮอร์โมนต่างๆ เพื่อให้พร้อมในการสร้างและหลั่งน้ำนม
การตกไข่และการมีประจำเดือน ปกติมารดาหลัง คลอดมักมีประจำเดือนแบบไม่มีการตกของไข่
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา (Taking-in phase ) ใช้เวลา 1-2 วัน มารดาหลังคลอดจะมุ่งเน้นที่ตนเอง ต้องการพึ่งพาผู้อื่น สนใจแต่ตวามต้องการแลละความสุขสบายของตนเอง มากกว่าที่จะนึกถึงบุตร การพักผ่อนมีความสำคัญในระยะนี้ และมีความอยากอาหารมาก
ระยะพฤติกรรมระหว่าพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-hold phase) ใช้เวลาประมาณ 10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ สนใจตนเองน้อยลง สนใจบุตรมากขึ้น พึ่งพาตนเองมากขึ้น
ภาวะอารมณ์เศร้า (Postpartum blue) เกิดจาก ต้องแยกจากครอบครัว อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย ฮอร์โมนลดลงอย่างมาก มีความไม่สุขสบายรำคาญ
ระยะพฤติกรรมพึ่งพาตนเอง (Letting-go-phase) มารดาปรับตัว ตระหนักและยอมรับความจริงว่าบุตรไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของร่างกายแล้ว แต่แยกออกไปเป็นบุคคลหนึ่ง และต้องทิ้งความเป็นอิสระ
บทบาทการเป็นบิดา-มารดา
บทบาทการเป็นบิดา
ทำความเข้าใจในบทบาท
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัว
วุฒิภาวะ
รายได้
ประสบการณ์เดิมที่ได้รับในวัยเด็ก
ลักษณะของสังคมและวัฒนธรรม
การมีสัมพันธภาพที่ดีของสามี
ส่งเสริมให้บุรมีพฒนาการด้านต่างๆ
แนวทางการส่งเสริมบทบาทการเป็นบิดา
เปิดโอกาสให้บิดา มารดา และ บุตร ได้อยู่ร่วมกันโดยเร็วหลัคลอด
สร้างเสริมให้กำลังใจแก่บิดา
ให้บิดาได้มีส่วนร่วมในการฟังการให้คำแนะนำ
ให้ความรู้เกี่ยวกันพันธกิจและบทบาทการเป็นบิดา
เรียนรู้สิ่งจำเป็นในการดูแลบุตร
หาแนวทางแก้ไขหากกดดันในขณะเริ่มเป็นบิดา
รับผิดชอบเกี่ยวกับการหารายได้
บทบาทการเป็นมารดา
สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมารดา-บิดา และบุตร
จัดแบ่งหน้าที่รับผิดชบของสมาชิกในครอบครัวให้เหมาะสม
การปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่
วางแผนครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัว
บุลิกภาพและการเลี้ยงดูที่ได้รับในวัยเด็ก
อายุ
ประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็ก
รายได้
การศึกษา
สัมพันธภาพในชีิตสมรส
การส่งเสริมบทบาทกาเป็นมารดา
ในระยะก่อนแต่งงานควรให้ความรู้เกี่ยวกับการรดูแลเด็ก และหน้าที่การเป็นมารดาในบทเรียนตั้งแต่ ม.ปลาย ให้ความรู้และคำแนะนำในเรื่องการคุมกำเนิด การตั้งครรภ์ การคลอด การเลี้ยงบุตร
ในระยะตั้งครรภ์ ให้คามรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติขณะตั้งครรภ์
ในระยะคลอด แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด ให้มารดาอยู่ใกล้ชิดบุตร ให้กำลังใจ เปิดโอกาสให้มารดาพูดคุยและปรึกษาปัญหา จัดเวลาและสถานที่ให้เหมาะสม
นางสาวอาทิตยา อันสีแก้ว 61010310