Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนตร์สั้น “A beautiful mind”, นางสาวนริศรา เชียงแสงทอง ห้อง 2B เลขที่…
ภาพยนตร์สั้น “A beautiful mind”
ปัญหา
เห็นภาพหลอน หูแแว่ว
เสี่ยงต่อการทำร้ายผู้อื่น
บกพร่องทางสังคม
ทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ
มีภาวะของสมองผิดปกติ
มีอาการหวาดระแวง
สาเหตุ
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท ที่บ้านมีสถานะทางเศรษฐกิจไม่ค่อยดีทำให้ต้องเผชิญความเครียด
ในช่วงวัยเด็กผู้ป่วยรู้สึกว่าเพื่อนชอบแกล้ง
ประวัติผู้ป่วย
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ นายจอร์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr.John F0rbes Nash,Jr) อายุ 24 ปี เชื่อชาติอเมริกา สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว มีน้องสาว 1 คน บิดาเป็นวิศวกร มารดาเป็นครูสอนภาษา
ก่อนหน้านี้ภรรยาสังเกตว่าผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นเกี่ยวกับเรื่องตัวเลขอย่างมากจนเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว ไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ฟัง
ต่อมาภรรยาเพิ่งทราบเรื่องที่ผู้ป่วยเข้าใจว่าตนเองทำงานเป็นสายลับหลังจากที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาอาการทางจิตแล้ว
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยเด็ก
เป็นเด็กเรียนเก่ง ชอบเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท มีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ผู้ป่วยไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการแต่มีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ ทำการทดลองด้วยตนเองตั้งแต่อายุ 12 ปี
วัยรุ่น
ผู้ป่วยหันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์ และมุ่งมั่นในการเรียนจนจบปริญญาโททางด้านคณิตศาสตร์ด้วยอายุเพียง 20 ปี
ระหว่างนั้นผู้ป่วยเริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด โดยยังคงเป็นคนเก็บตัวและไม่มีเพื่อนสนิท
เริ่มมีเพื่อนชื่อชาร์ลเข้ามาและเป็นเพื่อนคนเดียวที่เขาสามารถคุยด้วยได้
เรียนปริญญาเอก
เริ่มมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลกๆมากขึ้น
ชาร์ลเข้ามามีบทบาทในชิวีตเขามากขึ้น
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง (paranoid)
ลักษณะ
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
มองซ้าย มองขวา ตลอดเวลา
ไม่ชอบเข้าสังคม ชอบอยู่คนเดียว
สาเหตุ
เกิดจากปัจจัยทางจิตวิทยา
ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบิดามารดา ทำให้เด็กขาดความไว้วางใจ ไม่มั่นใจ และก้าวร้าวต่อสิ่งแวดล้อม
การรักษา
ยา
การทำจิตบำบัด
ประสาทหลอน (Hallucination)
ประสาทหลอนทางการเห็น (Visual hallucination)
ผู้ป่วยมองเห็นภาพต่างๆ ที่ไม่มีอยู่จริง
ประสาทหลอนทางการได้ยิน (Auditory hallucination)
ผู้ป่วยได้ยินเสียงคนพูด หัวเราะ หรือด่าตน โดยที่ไม่มีสถานการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ประเด็นที่สงสัย
การเลี้ยงดูของครอบครัวเป็นอย่างไร
พัฒนาการในวัยเด็กส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยหรือไม่
ความคิดหลงผิดกับเห็นภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาอย่างไร
มีผลกระทบอะไรบ้างที่เกิดกับผู้ป่วยรายนี้
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
เป็นยาในกลุ่มฟีโนไทอาซีน (Phenothiazine) ที่นำมาใช้รักษา ความผิดปกติของจิตใจ อารมณ์ และสภาวะอื่น ๆ
โรควิตกกังวลอย่างรุนแรง อาการสับสน กระสับกระส่าย หรือพฤติกรรมที่เป็นอันตรายอื่น ๆ ในระยะฉับพลัน
กลุ่มโรคจิตเภทหรือโรคจิต ซึ่งเป็นความผิดปกติทางด้านจิตใจที่ส่งผลกระทบต่อความคิด ความรู้สึก อาการประสาทหลอน อาการก้าวร้าว และอาการหลงผิด
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุลกัน ใช้เพื่อรักษาผู้ป่วยโรควิตกกังวล
การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy) 1 course ( 5 time per week/10 week)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551
มาตรา 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาทหรือการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใด ที่อาจเป็นผลทำให้ร่างกาไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวรให้กระทำได้ในกรณีต่อไปนี้
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษานั้น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยหากมิได้บำบัดรักษาจะเป็นอันตรายแก่ชิวิตของผู้ป่วย
การรักษาด้านจิตสังคม
นิติเวศน์บำบัด(milieu therapy)
เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาลเพื่อช่วยส่งเสริมขบวนการรักษา
การให้คำแนะนำแก่ครอบครัว(family counseling or psychoeducation)
ให้ความรู้เรื่องโรค และสิ่งที่ญาติควรปฏิบัติต่อผู้ป่วย
จิตบำบัด (psychotherapy)
ช่วยผู้ป่วยค้นหาดูว่า ความเครียดหรือความกดดันอะไรที่เขามักทนไม่ได้
นางสาวนริศรา เชียงแสงทอง ห้อง 2B เลขที่ 35 รหัสนักศึกษา 613601143