Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, นางสาวนางสาวศศิธร แก่นจันทร์ รหัส…
บทที่ 4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
Uterine Rupture
สาเหตุ
1.มดลูกแตกเอง เช่น CPD
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม เช่น P/S
ชนิด
complete uterine ruptured
: การฉีกขาดของมดลูกทั้ง ๓ ชั้นของผนังมดลูกและ
แตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum)
ทารกจึงหลุดออกไปอยู่ในช่องท้องบางส่วนหรือทั้งหมด
incomplete uterine ruptured
: การฉีกขาด ของมดลูกชั้นเยื่อบุมดลูก, กล้ามเนื้อมดลูก ทารกยังอยู่ ภายในโพรงมดลูกมักเกิดกับรอยแผลเก่าบนผนังมดลูก
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RRไม่สม่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า
มองเห็นหน้าท้องเป็น Bandl’s ring
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก
fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
มดลูกแตก
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
มดลูกแตกขณะเจ็บครรภ ์อาการเจ็บครรภ์จะหายไป
FHS เปลี่ยนแปลงหรือหายไป
การรักษา
1.ถ้ามดลูกแตกแล้ว มีภาวะช็อค ให้ RLS,เลือดทดแทนและออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.เตรียมผู้คลอด C/S และตามกุมารแพทย์ เพื่อ CPR ทารก
3.การผ่าตัด
4.ให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อในช่องท้อง
5.กรณีที่ทารกเสียชีวิตต้องดูแลสุขภาพจิตผู้คลอดและครอบครัว
การพยาบาล
*เน้นการป้องกัน
P/S แนะนำให้เว้นระยะมีบุตร อย่างน้อย ๒ ปี
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตกในผู้คลอด และให้การดูแลอย่างใกล้ชิด/รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าตัดทำคลอด
เฝ้าดูแลความก้าวหน้าของการคลอด
ผู้คลอดที่ได้รับยาเร่งคลอด ควรประเมิน UC และFHS อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก หากรีบรายงานแพทย์ทันที
เมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก
NPO และให้ IV fluid ตามแผนการรักษา ติดตามและรายงานสูติแพทย์ทราบ
ประเมิน V/S และ FHS ทุก 5นาที
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน และเลือดตามแผนการรักษา
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอดและอาการของภาวะช็อก
เตรียมผู้คลอดให้พร้อม C/S
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ และรายงานกุมารแพทย์
ดูแลให้ ATB
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
Amniotic fluid embolism
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำพลัดเข้าไปในกระแสเลือดทางมารดา
สาเหตุ
หดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรง
ถุงน้ำคร่ำแตก
รกรอกตัวก่อนกำหนด
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
อาการและอาการแสดง
เขียวตามปลายมือปลายเท้า ใบหน้า และลำตัว
ภาวะเลือดไม่แข็งตัว(coagulopathy)
หายใจลำบาก
ความดันโลหิตต่ำ
ผลกระทบ
ขาดออกซิเจน
ตกเลือดได้
DIC
การรักษา
1) ป้องกันและแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน ด้วยการให้ออกซิเจน100%
2) ป้องกันระบบการไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจล้มเหลว
3) ป้องกันและแก้ไขภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติและภาวะตกเลือด
4) ช่วยคลอดให้เร็วที่สุดเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะขาดออกซิเจนของทารก
การพยาบาลที่สำคัญ
1.จัดท่า Fowler’s position
2.oxygen mask with bag
3.IV
4.ช่วยคลอด
5.Arrest>>CPR
6.ระวัง DIC,PPH
Precipitated Labour
-ระยะที่ 1 < 3 Hr.
-ระยะที่ 2 ˂ 10 นาที
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
แรงต้านทานที่เนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ครรภ์หลัง
เชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็ว
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด(พบน้อยมาก)
ทารกตัวเล็ก
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์อย่างมาก Ut.contraction I > 5 ครั้งใน 10 นาที
ปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก Cx.dilate ≥5 cms./hr
ครรภ์หลงั Cx.dilate ≥10 cms./hr
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
ช่องทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
Hematoma
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
มดลูกแตก
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นปอด
ต่อทารก
เลือดออกในสมอง
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ แขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ได้รับบาดเจ็บจากการช่วย คลอดไม่ทัน
การดูแลรักษา
เตรียมการช่วยเหลือการคลอดให้ทันเวลา
การให้ยา : ในรายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวให้หยุดยาทันที
การให้ยา : หลังคลอดให้ Methergin, Antibiotic3
การผ่าตัด : ในรายที่มี Tetanic contraction ปากมดลูกยังไม่เปิดหมด
Postpartum Hemorrhage
การสูญเสียเลือด
500 CC. (คลอดทางช่องคลอด)
1,000 CC. (ผ่าตัดคลอด)
ชนิด
Early
or immediate PPH : การตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
การรักษา:
แนวทางประเมิน ตามหลัก 4T
Tone :
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/ปัสสาวะค้าง>>ดูแลให้ oxytocin,คลึงมดลูก,สวนปัสสาวะทิ้ง
Tissue :
รกค้าง>> ตรวจสอบ
Trauma :
ช่องคลอดฉีกขาด>>ซ่อมแซม
Thrombin :
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ดูแลให้ IV
ตรวจหา PT,PTT,INR,PLT
Late
or delayed PPH : การตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมง จนถึง6 สัปดาห์หลังคลอด
การรักษา
แก้ไข PPH
ขูดมดลูก (กรณีรกค้าง)
ยา ATB
Risk hypovolemic shock>>เพิ่ม blood circulation
สาเหตุ
Uterine atony
Tear of birth canal
Retained pieces of placenta or membrane
Hematoma
Coagulopathy
Uterine subinvolution
Infection
นางสาวนางสาวศศิธร แก่นจันทร์
รหัส 602701089 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม