Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น กรณีฉุกเฉินทางศัลยกรรม, คำแนะนำ, การตกแต่งบาดแผล …
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
กรณีฉุกเฉินทางศัลยกรรม
ความหมาย
บาดแผล(Wound)
เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง เยื่อบุถูกทำลายมีการฉีกขาด
เกิดขึ้นตั้งแต่ชั้นผิวหนังลงไป หรือเกิดขึ้นภายใต้เนื้อเยื่อ
การบาดเจ็บจากสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นอันตราย
(การเย็บแผล)Suture
อุปกรณ์ เข็ม ด้าย ไหม เอ็น
เย็บลงใกล้บริเวณขอบแผล
การทำให้แผลเข้ามาชิดกัน
วัตถุประสงค์
การเย็บแผล
เพื่อให้ขอบแผลชิดติดกัน ทำให้แผลเป็นน้อยที่สุด
เพื่อให้อวัยวะที่เกิดยาดแผลนั้นๆสามารถทำหน้าที่ได้อย่างปกติ
เพื่อให้เลือดที่ออกจากบาดแผลหยุด เป็นการป้องกันการเสียเลือด
เพื่อลดความเจ็บปวด และป้องกันการติดเชื้อ
เครื่องมือ
ในการเย็บแผล
มีดผ่าตัด(Scalpel)
กรรไกร(Scissors)
Needle holder
ปากคีบ(Forceps)
เข็ม(Needle)
ไหมเย็บแผล
การเลือกขนาด suture
เย็บบริเวณเท้าใช้ Nylon 3-0;
Face ใช้ Nylon 6-0;
Trunk, extremities ใช้ Nylon 4-0;
Facial muscle ใช้ Dexon, Vicryl 4-0/5-0
หนังศีรษะ(Acalp) ใช้ Nylon 3-0/4-0;
อุปกรณ์อื่นๆ
สำหรับปิดแผล
transparent film เช่น Tegaderm, OpSite
hydrocolloid หรือ hydrogel เช่น Duoderm
พลาสเตอร์เหนียว(Adhesive plaster)
Elastic bandage, Gauze bandage
ที่จำเป็น :
กรรไกรตัดไหม กรรไกรตัดชิ้นเนื้อ(Metzenbaum)
วัสดุปิดแผล
วายก๊อส(y-gauze)
วาสลินก๊อส(vasline gauze)
ก๊อส drain
ผ้าก๊อส(gauze dressing)
ผ้าก๊อสหุ้มสำลี(top dressing)
ผ้าก๊อสหุ้มสำลีขนาดใหญ่(gumgi)
ภาชนะทิ้งสิ่งสกปรก :
ชามรูปไต ถุงขยะ
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
ชุดทำแผล(Dressing set)
ชุดเย็บแผล(Suture set)
ยาชาที่ใช้
Procain(Novacaine)
Bupicacaine(Marcaine)
Lidocain, Xylocain
ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วย
ที่มีบาดแผล
การประเมินแผล
อะไร(What) :
กลไกบาดจ็บ สาเหตุ ชนิดของบาดแผล
เมื่อไหร่(When) :
เกิดเหตุเมื่อไหร่ ล้างแผลเมื่อไหร่
AMPLE
P
ast history โรคประจำตัว
L
ast meal การรับประทานอาหารมื้อสุดท้าย
M
edication ประวัติการได้รับ Tetanus immunization
E
vents กลไกการบาดเจ็บ
A
llergy ยาชา ยาแก้ปวด ATB
ที่ไหน(Where) :
ตำแหน่งของการเกิดแผล
อาการปวด บวม ชา อ่อนแรง สิ่งแปลกปลอมภายในแผล
ข้อมูลพิจารณา
เย็บแผล
ไม่เกิดช่องว่างเสียเปล่า(Deep space)
ไม่ติดเชื้อ ไม่มีลักษณะอักเสบ เป็นหนอง
ไม่มีน้ำเลือด หรือน้ำเหลืองตกค้าง
มีเลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นอย่างเพียงพอ
บาดแผลสะอาด ทำความสะอาดตกแต่งบาดแผลเป็นอย่างดีแล้ว
มีผิวหนังที่ที่พอจะดึงรั้งเข้ามาหากันได้ โดยไม่ตึง
บาดแผลเกิดขึ้นภายใน 24 hrs
ไม่เย็บแผล
บาดแผลที่เกิดนานกว่า 24 hrs
บาดแผลที่มีการอักเสบติดเชื้อ บวมแดง เริ่มมีเนื้อตาย เขียว คล้ำ มีหนอง
บาดแผลสกปรกมากๆ เช่น สัตว์กัด ตกท่อน้ำครำ
ขอบแผลห่างกันมาก ไม่สามารถนำมาเย็บติดกันได้
ขั้นตอนการเย็บแผล
เตรียมผู้ป่วยทั้งร่างกายและจิตใจ
เตรียมอุปกรณ์ เย็ย ทำความสะอาดแผล
Nursing diagnosis
ล้างมือให้สะอาด ใส่ถุงมือ sterile
การตรวจแผล
จัดอุปกรณ์ใน Set suture ให้พร้อมใช้
วัด vital sign
ทำความสะอาดบาดแผล
ประเมินบาดแผลเพื่อตกแต่ง
ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
จัดเตรียมเข็ม วัสดุเย็บให้พร้อมใช้
ฉีดยาชาเฉพาะที่
เย็บแผล
ประเมินผล
คำแนะนำ
พักข้อ สังเกตการบวม ปวด แน่น ชา
ให้มารับการตัดไหมเมื่อครบกำหนด
ถ้าอักเสบ ปวด บวมแดง มีหนอง มา รพ.
ไม่ควรให้แผลถูกน้ำ
ยกอวัยวะที่เย็บแผลให้สูง
การตกแต่งบาดแผล
ใช้กรรไกรตัดเนื้อตาย หรือเนื้อที่ชอกช้ำออก
ขอบแผลที่ช้ำให้ตัดออก หรือตกแต่งให้เรียบร้อย
หากขอบแผลกะรุ่งกะริ่งตกแต่งให้เรียบร้อย
ในการตกแต่งบาดแผลอาจจำเป็นต้องฉีดยาชาเล็กน้อย